Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 1301-1350
  1. โคปขุม : ค. มีดวงตาเหมือนดวงตาลูกโค
  2. โคปฺผิม : (วิ.) เกิดที่เท้า, มีที่ข้อเท้า. โคปฺผ ศัพท์ อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  3. โคปาณสิ เคปาณสี โคปานสิ โคปานสี : (อิต.) กลอน ไม้กลอน (ไม้ที่พาดบนแป สำหรับวางเครื่องมุงหลังคา เช่น จากที่เย็บ เป็นตับ เป็นต้น), จันทัน ไม้จันทัน (ไม้ เครื่องบนสำหรับรับแปลานหรือระแนง). วิ. คํ วสฺโสทกํ สุริยาทิกิรณํ จ ปิวนฺติ วินาสยนฺติ อพฺภนฺตร มปฺปเวสนวเสนาติ โคปานา. อิฏฺฐกาทโย ; ตานิ สิโนนฺติ พนฺธนฺติ เอตฺถาติ โคปานสี. โคปานปุพฺโพ, สี พนฺธเน, อี.
  4. โคลีมี : (อิต.) ว่านน้ำ วิ. คุณฺณํ โลมสมฺปาต- นฏฐาเน ชาตา โคโลมี. หญ้า แพรกขาว วิ. โคโลมชตฺตา โคโลมี, แฝกขาว, เปราะ ก็แปล.
  5. โคฬปตฺต : (นปุ.) กระหล่ำปลี.เบียน, การกำจัด. หนฺ หึสายํ, ณฺย. แปลง ห เป็น ฆ นฺ เป็น ตฺ ลบ ณฺ รวมเป็นฆตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  6. ฆจฺจ : (ปุ.?) การฆ่า, การทำลาย, การเบียดเบียน, การกำจัด. หนฺ หึสายํ, โณฺย. แปลง ห เป็น ฆ นฺ เป็น ตฺ ลบ ณฺ รวมเป็นฆตฺย แปลงตฺย เป็น จฺจ.
  7. ฆรโคลิกา : (อิต.) จิ้กจก, ตุ๊ดตู่ ชื่อสัตว์ชนิด หนึ่งคล้ายตุ๊กแก, ตุ๊กแก. วิ. ฆรสนฺนิสฺสิตา โคธา โคลิกา ฆรโคลิกา. แปลง ธ เป็น ล ก สกัด อิ อาคม. เป็น ฆรโคฬิกา บ้าง.
  8. ฆาเตตาย : (วิ.) ควรฆ่า วิ. ฆาเตตุ อรหตีติ ฆาเตตาโย. อาย หรือ ราย ปัจ. ลบ ตุ.
  9. โฆสปฺปมาณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยประมาณ ในเสียง (เกิดความเลื่อมใสด้วยฟังเสียง ไพเราะ), ผู้ถือประมาณในเสียง. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  10. จกฺขายตน จกฺขฺวายตน : (นปุ.) อายตนะ คือตา วิ. จกฺขุ เอว อายตนํ จกฺขายตนํ จกฺขฺวายตนํ วา. จกฺขุ+อายตน ศัพท์ต้นลบ อุ ศัพท์หลัง แปลง อุ เป็น ว.
  11. จกฺขุก : ค. ผู้มีจักษุ, ผู้มีตา, ผู้มีปัญญา
  12. จกฺขุทฺวาร : (นปุ.) ช่องแห่งตา วิ. จกฺขุสฺส ทฺวารจกฺขุทฺวร.ช่องคือตาวิ. จกฺขุ เอว ทฺวารํ จกฺขุทฺวารํ.
  13. จกฺขุทุพฺพล : (วิ.) ผู้มีจักษุมีกำลังอันโทษประ ทุษร้ายแล้ว, ผู้มีตาอ่อนแอ (ตาเสื่อมตา เสีย).
  14. จกฺขุธาตุ : (ปุ. นปุ.) ธาตุคือตา. หมายเอาแววตา ประสาทตา.
  15. จกฺขุปสาท : (ปุ.) ประสาทของตา, จักษุประสาท คือเส้นสำหรับนำความรู้สึกของตา ส่วน สำคัญของตาที่ทำให้มองเห็น.
  16. จกฺขุโลล : ค. ผู้คะนองตา, ผู้มีสายตา, ผู้อยากเห็นโน่นเห็นนี่
  17. จกฺขุวิญญาณ : (นปุ.) ความรู้อันอาศัยประสาท ตาเกิดขึ้น, ความรู้ทางตา.
  18. จกฺขุวิญฺญาณ : นป. จักษุวิญญาณ, ความรู้ที่อาศัยตาเกิดขึ้น
  19. จกฺขุสมฺผสฺส : (ปุ.) การถูกต้องพร้อมแห่งตา, การถูกต้องทางตา. จกฺขุสฺส (วิ) เกื้อกูลแก่จักษุ วิ.จกฺขุโน หิต จกฺขุสฺส สฺสปัจโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๗๑
  20. จกฺขุสฺส : ค. น่าดู, เจริญตา
  21. จตุกฺก : (วิ.) มีปริมาณสี วิ. จตฺตาริ ปริมาณานิ อสฺสาติ จตุกฺกํ กปัจ. สังขยาตัท.
  22. จตุกฺกงฺคุตฺตร : (ปุ.) จตุกกนิบาต, อังคุตตรนิ- กาย.
  23. จตุกณฺณ จตุกฺกณฺณ : (ปุ.) มนต์มีมุมสี่ คือการปรึกษากันสองคน ได้ยินกันสี่หู ( มนฺต การปรึกษา ). วฺ. จตฺตาโร กณฺณา เอตฺถาติ จตุกฺกณฺโณ. ทฺวินฺน ชนาน วิสยภูโต โส มนฺโต จตุกฺกณฺโณ. นาม.
  24. จตุปท จตุปฺปท จตุปาท จตุปฺปาท : (วิ.) มีเท้า สี่ (สี่เท้า)วิ. จตฺตาริ ปทานิ เอตสฺสาติ จตุป โท, ฯลฯ
  25. จตุพคฺค จตุพฺพคฺค จตุวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่ง วัตถุสี่ที่ควรแสวงหา ได้แก่ธรรม คือหน้า ที่ ๑ กามะคือความสุข ๑ อรรถะ คือ ทรัพย์ สมบัติ ๑ โมกขะ คือ พระนิพพาน ๑ วิ จตฺตาโร วคฺคา โมกฺขสหิตา ธมฺมกามตฺถา จตุพคฺโค จตุพฺพคฺโค วา จตุวคฺโค วา, อภิฯ
  26. จตุรงฺคินิ : (วิ.) (กองทัพ) มีองค์สี่ ( ช้าง ม้ารถ และพลเดินเท้า ) วิ. จตฺตาริ องฺคานิ ยสฺส วิชฺชนฺติ สา จตุรงฺคินี อี ปัจ. อินี อิต.
  27. จตุรสฺส : (วิ.) มีมุมสี่ ( สี่มุม ) วิ. จตฺตาโร อํสา ยสฺสา สา จตุรสฺสา ลบนิคคหิต รฺ อาคม แปลง ส เป็น สฺส ฎีกาเวสฯ ๕๓๑ ไทย ใช้จตุรัส จัตุรัส ในความหมายว่าสี่เหลี่ยม ด้านเท่า.
  28. จนฺทนิกา : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่ออันเต็มด้วยน้ำไม่ สะอาดใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำ ครำ. วิ. จิตฺตํ ทุโนตีติ จนฺทนิกา จิตฺตปุพฺโพ ทุ หึสายํ. ลง ณุ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ณุ เป็น นุ อ ปัจ. นามกิตก์ อิ อาคม ก สกัด ลบ ตฺต แปลง อิ ที่ จิ เป็น อ อาอิต.
  29. จปล : (วิ.) ประพฤติผิดโดยไม่ตริตรองเสียก่อน, ประพฤติผิดโดยพลัน, กลับกลอก, โยก, โคลง, ไหว, หวั่นไหว, ไม่แน่นอน, พลิก- แพลง, รวดเร็ว. จปฺ กกฺกนสนฺตาเนสุ, อโล. อถวา, จุป จลเน, อโล. วิ. จุปติ เอกตฺเถ น ติฏฺฐตีติ จปโล. อุสฺส อตฺตํ.
  30. จมฺเปยฺย : (ปุ.) จำปา, ต้นจำปา, จำปาเทศ, มะม่วง, ต้นมะม่วง. วิ. ปฐมกาเล จมฺปา- นคเร ชาตตฺตา จมฺเปยฺโย เอยฺยปัจ.
  31. จมฺมมาลุก : ป. ดู จมฺมภสฺตา
  32. จมฺมิก : (วิ.) ประกอบด้วยหนัง, หุ้มด้วยหนัง, สรวมเกราะ, ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  33. จมุรุ จมูรุ : (ปุ.) กวาง, ชะมด. วิ. อูรุมฺหิ อติสยจมฺมยุตฺตตาย จมูรุ. อูรุ หรือ อูรุ (ขา) + จมฺม ลบ ม เสียตัวหนึ่ง แล้วกลับ บทหน้าไว้หลัง.
  34. จาตุมฺมหาราชิก : (วิ.) (เทวดา) ชั้นจาตุมมหา- ราช วิ. จาตุมฺมหาราเชสุ ภตฺติ เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้ภักดีในท้าวมหาราช ทั้งสี่องค์ ). รูปฯ ๓๖๐. จาตุมฺมหาราเชสุ ถตฺตา เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้รับ ใช้ในท้าวมหาราชทั้งสี่องค์). โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๒ ณิกปัจ. สกัด.
  35. จาตุรงฺคสนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่, การประชุมประกอบด้วยองค์สี่, การประชุมมีองค์สี่. จาตุรงคสันนิบาตเป็น ชื่อของการประชุมในวันมาฆบูชาเมื่อพระ พุทธเจ้าตรัวรู้แล้วได้ ๙ เดือน องค์สี่คือ. – ภิกษุที่มาประชุม ๑๒๕๐ องค์ ล้วน เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดนั้นเป็นเอหิภิกขุ – อุปสัมปทา ภิกษุสงฆ์เหล่านั้นมากันเองโดยมิได้ นัดหมาย และ วันนั้นเป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
  36. จาปลฺล : ดู จปลตา
  37. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  38. จิกิจฺฉก : (ปุ.) บุคคลผู้เยียวยา, บุคคลผู้รักษา โรค, คนพยาบาล, หมอ, แพทย์ นาย แพทย์. กิตฺ โรคาปนยเน. ฉ ปัจ และ ณฺวุ ปัจ. เทว๎ภาวะ กิ แปลง กิ เป็น จิ แปลง ตฺ เป็น จฺ
  39. จิตฺตกร : (ปุ.) คนผู้ทำให้วิจิตร, ช่างเขียน, ช่าง วาดเขียน, ช่างวาดภาพ, จิตรกร. วิ. จิตฺตํ กโรตีติ จิตฺตกโร. จิตฺตปุพโพ, กรฺ กรเณ, อ.
  40. จิตฺตกูฎ : (ปุ.) จิตตกูฎ ชื่อยอดภูผา ยอด ๑ ใน ๖ ยอด ของภูเขาหิมาลัย. วิจิตฺตกูฎยุตฺตตาย จิตฺตกูโฏ.
  41. จิตฺตสฺส จิตฺรสฺส : (ปุ.) ม้าลาย. จิตฺต, จิตฺร + อสฺส.
  42. จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบสี่ วิ. จตฺตาโร จ ทสา จาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตูหิ วา อธิกา ทสาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตุ+ทส ลบ ตุ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลง โย วิภัตินาม ลบโยรูปฯ๒๕๖,๓๙๑. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๐ ว่าแปลง จตุ เป็น จุ, โจ ซ้อน ทฺ เป็น จุทส โจทส โดยไม่ซ้อนบ้าง.
  43. จูฬามณิ : (ปุ.) ปิ่น วิ. มกุฎจูฬาย จุมฺพิตา มณิ จูฬามณิ.
  44. เจตสิก : (วิ.) อันเป็นไปในจิต วิ. เจตสิ สํวตฺตตีติ เจตสิโก. อันประกอบในจิต วิ. เจตสิ นิยุตฺโต เจตสิโก. อันมีในจิต วิ. เจตสิ ภวํ เจตสิกํ. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  45. ฉปฺปญจวาจา : (อิต.) วาจาหกหรือห้า, วาจาห้า หรือหก, คำพูดห้าหกคำ. วิ ฉ วา ปญฺจ วา วาจา ฉปฺปญฺจวาจา. เป็น ปฐมาวิภัตต – ยันตพหุพ. รูปฯ ๓๔๑.
  46. ฉพฺพคฺคิย : (วิ.) มีพวกหก. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท
  47. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  48. ชงฺฆา : (อิต.) แข้ง วิ. ชายติ คมน เมตายาติ ชงฺฆา. ชนิ ปาตุภาเว, โฆ, นสฺส นิคฺคหีตํ (แปลง น เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ อีกเนื่องจาก ฆ อยู่หลัง). ส. ชงฺฆา ขา.
  49. ชจฺจ : (นปุ.) ความเกิด, ความบังเกิด, กำเนิด. ชาติ. ชนฺ ชนเน, โย. แปลง นฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แล้วแปลงเป็น จฺจ.
  50. ชฎา : (อิต.) ความอยาก, ความปรารถนา, กิเลส, ตัณหา. วิ. เตสุ อารมฺมเณสุ อากุ- ลีภูตตฺตา ชฎา วิยาติ ชฏา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | [1301-1350] | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0820 sec)