Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 1601-1650
  1. เวฬุริย : นป. แก้วไพฑรูย์, เพชรตาแมว
  2. สกฺขี : ป. พยานเห็นกับตา, สักขีพยาน
  3. สตฺต : (นปุ.) สาย, สายบรรทัด, ใย, ด้าย, เส้น, เส้นด้าย. สจฺ คติยํ, โต. แปลง จฺ เป็น ตฺ
  4. สนฺนกทฺทุ : (ปุ.) มะหาด ชื่อต้นไม้ขนาดใหญ่ ผลคล้ายมะปราง วิ. สนฺนกา ตาปสา, เตสํ ทุโม สนฺนกทฺทุ. มฺโลโป ทฺสํโยโค.
  5. สปตฺต : (ปุ.) ข้าศึก, ศัตรู, ปรปักษ์. วิ. ทุกฺข-เหตุตฺตา สปตฺตี อิวาติ สปตฺโต. สกาโร รกฺขเส, โส วิย รกฺขโส วิย อญฺญฺมฺฺญฺญํ อหิตาสุขํ ปาเปตีติ สปตฺโต.
  6. สพฺพภมฺม : (ปุ.) จักรพรรดิราช, พระเจ้าจักรพรรดิ. วิ. สพฺพภูมิยา อิสฺสโร สพฺพภุมฺโม. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท.
  7. สพฺภ : (นปุ.) ความดีในสภา, ความสำเร็จในสภา. วิ. สภายํ สาธุ สพฺภํ ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. แปลง ภฺย เป็น พฺภ รูปฯ ๓๖๓.
  8. สมญฺญา : (อิต.) นาม, ชื่อ, สมัญญา, สมญา, สมเญศ. วิ. สมฺมา อาชานาติ สมํ ชานาติ เอตายาติ สมญฺญา สํปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, อ.
  9. สมณุทฺเทศ : (ปุ.) สามเณร วิ. สมณลิงฺคาจารฺตฺตา สมโณ อยนฺติ อุทฺทิสิตพฺโพติ สมณุเททฺโส.
  10. สมนฺตจกฺขุ : (ปุ.) พระสมันตจักขุ (ทรงรู้ทรงเห็นโดยทั่ว) เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. บทธรรมที่พระคถาคตไม่ทรงเห็นแล้วไม่มีในโลกนี้ บทธรรมที่ควรรู้ พระคถาคตไม่ทรงรู้แล้วไม่มี ทรงทรางยิ่งซึ่งธรรมเครื่องนำไปทั้งปวง จึงเป็นพระสมันตจักษุ. ไตร. ๓๑ ข้อ ๒๙๑.
  11. สมฺปทา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องถึงพร้อม, การถึงพร้อม, ความถึงพร้อม, ความดี, ฯลฯ, ความเจริญ, สมบัติ. วิ. สมฺปชฺชติ เอตายาติ สมฺปทา สมฺปชฺชนํ วา สมฺปทา.
  12. สมฺมาสมฺพุทธฺ : (ปุ.) พระสัมมาสัมพุทธะ พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง, พระสัมมาสัมพุทธเจ้า. วิ. สมฺมา อวิปริเตน สํ อตฺตนา สมฺพธมฺเม อพุชฺฌีติ สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา ฯเปฯ พุชฺฌตีติ วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมาสํปุพฺโพ, พุธฺ, โพธเน, โต. สมฺมาสมฺโพธิโยคา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา สามํ พุทฺธตฺตา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ.
  13. สมฺมุชฺชนี สมฺมุญฺชนี : (อิต.) ไม้กวาด, ไม้กราด. วิ. วสมฺมุญฺชติ เอตายาติ สมฺมุชฺชนี สมฺมุญฺชน วา. สํปุพฺโพ, มุชิ โสธเน, ยุ, อิตุถิยํ อี.
  14. สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
  15. สมุนฺนทฺธ : (วิ.) ตั้งไว้เป็นกอง ๆ, บังเกิดเป็นกอง ๆ กัน. สํ อุป วิ ปุพฺโพ, อูหฺ ฐปเน, โต. แปลงนิคคหิต เป็น ม อิ เป็น ย วฺ เป็น พฺ รัสสะ อู เป็น อุ ยฺ อาคม แปลง ตฺ เป็น พฺห ลบที่สุดธาติ.
  16. สมุห สมูห : (ปุ.) ฝูง, ฯลฯ, กลุ่ม, ชุมนุม. วิ. สมฺมา วิเสเสน จ อูหเต ปุญฺชีภูตตฺตาติ สมุโห สมูโห วา. สมํ สหาวยเวน อูหตีติ วา สมุโห สมูโห วา. อูหฺ ปฐเน, อ. ศัพท์ต้นรัสสะ. ส, สมูห.
  17. สรก : (ปุ.) ขัน, จอก, กระบวย. วิ. สรฺติ อุทก เมตฺถาติ สรโก. สรฺ คติจินฺตาหึสาสุ, ณวุ.
  18. สรณ : (นปุ.) สรณะชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. เยน จตฺตาโร มคฺคา โอธิโส กิเลเส สรนฺติ ตํ ธมฺมํ สรณํ. อริยานํ วสิตเคหตฺตา วา สรณํ. สรฺ หึสายํ, ยุ.
  19. สรภู : (อิต.) สรภู ชื่อแม่น้ำสายใหญ่สายที่ ๔ ใน ๕ สาย, แม่น้ำสรภู. วิ. สรานิ ภวนฺติ ยาย อธิภูตายาติ สรภู. สรตีติ วา สรภู. สรฺ คติยํ, อภู.
  20. สสฺส : (นปุ.) ข้าว, ข้าวกล้า. วิ. สสนฺติ สตฺตา เอเตนาติ สสฺสํ. สสฺ ปาณเน, โส. เขตฺเต เสติ รูหตีติ วา สสฺสํ. สปุพฺโพ, สิ วุทฺธิยํ, อ. สฺสํโยโค.
  21. สหคต : (วิ.) เป็นไปกับ, เป็นสิ่งนั้น, เป็นอย่างนั้น, ไปด้วยกัน, ไปพร้อมกัน, เป็นไปพร้อมกัน. ทางอภิธรรมแปลว่า เกิดพร้อม. ศัพท์ สมฺปยุตฺต แปลว่า ประกอบ. สหปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, โต, มฺโลโป. ที่เป็นกิริยากิตก็แปลว่า ไปร่วมกันแล้ว ไปแล้วด้วยกัน, ฯลฯ.
  22. สาตกุมฺภ : (นปุ.) สาตกุมภะ ชื่อทองต่างชนิดอย่างที่๒ ใน ๔ อย่าง. สตกุมฺภํ ปทุมเกสร วณฺณํ, ตพฺพณฺณสทิสตฺตา สาตกุมฺภํ.
  23. สาตฺถิก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยประโยชน์ วิ. สห อตฺเถน วตฺตตีติ สาตฺถิกา (เทสนา). ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท. เป็นไปกับด้วยวาจามีประโยชน์ วิ. อตฺโถ อสฺส อตฺถีติ อตฺถิกา(วาจา). อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. สห อตฺถิ กาย ยา วตฺตตีติ สาตฺถิกา (เทสนา). สหบุพ. พหุพ.
  24. สามายิก : (วิ.) อันมีในสมัย. สมย+ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท. ทีฆะ อ ที่ ส และ ม เป็น อา.
  25. สาร : (วิ.) สูงสุด, อุดม, ยิ่ง, แข็ง, สำคัญ, เป็นหลักฐาน, ที่พึ่ง. สรฺ คติหึสาจินฺตาสุ, โณ.
  26. สารที : (อิต.) ดองดึง, พลับพลึง. วิ. สรทกาเล สญฺชาตฺตา สารที. ณี ปัจ.
  27. สาวตฺถิ : (อิต.) สาวัตถี ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ วิ. สวตฺถสฺส อิสิโน นิวาส นฎฐานตา สาวตฺถิ. สพฺพธน เมตฺถ อตฺถีติ วา สาวตฺถิ (เมืองที่มีทรัพย์ทั้งปวง). แปลง สพฺพธน เป็น สาว+อตฺถิก ลบ อีก ลง อิ ปัจ.
  28. สาวิตฺติ : (อิต.) สาวิตติศาสตร์, สาวิตรี (คำสดุดีพระอาทิตย์บทหนึ่งในฤคเวท). อถโข ติปทํ ติปาท เมว สิยา สา สาวิตฺติ นาม. สวิตุสฺส อิสิโน อยํ วาจา สาวิตฺติ. อิณฺ ปัจ.
  29. สิกฺกา : (อิต.) สาแหรก วิ. กาเช อวลมฺพนํ เวตฺตาทีวิกติ สิกฺกา นาม. สกฺ สตฺติยํ, โก, อสฺส อิ.
  30. สิกฺขมานา : (อิต.) นางสิกขมานา ชื่อของสามเณรี ผู้มีอายุครบ ๑๘ ปี แล้ว รักษาสิกขาบทตั้งแต่ปาณาติปาตา เวรมณี ถึง วิกาลโภชนา เวรมณี ๖ สิกขาบทไม่ให้ขาดครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทเป็นภิกษุณีได้ ถ้าขาดสิกขาบทใดสิกขาบท ๑ ต้องนับตั้งต้นไปใหม่จนครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทได้. วิ. สิกฺขตีติ สิกฺขมานา สิกฺขฺ วิชฺโชปาทานาเน, มาโน.
  31. สิงฺคินี : (อิต.) แม่โค, แม่โคสามัญ. สิงฺคยุตฺต ตาย สิงฺคินี.
  32. สิทฺธตฺถ : (ปุ.) สิทธัตถะ (ผู้มีความต้องการอะไรก็สำเร็จ) เป็นพระนามเดิมของพระพุทธเจ้าพระองค์นี้ และใช้เป็นพระนามเมื่อตรัสรู้แล้วด้วย. วิ. สพฺพโส สิทฺธา อตฺถา เอเตน เหตุภเตนาติ สิทฺธตฺโถ.
  33. สิโรมณิ : (ปุ. อิต.) ปิ่น, ปิ่นปักผม. วิ. มกุฎสิรสิ จุมฺพิตา มณิ สิโรมณี.
  34. สีตรสิ : (ปุ.) ดวงจันทร์, พระจันทร์. วิ. สีตา รํสโย ยสฺส โส สึตรํสิ.
  35. สุตฺตนฺตปิฎก : (นปุ.) พระสุตตันตปิฎก.
  36. สุตฺตนฺติก : (วิ.) ผู้เรียนพระสูตร, ผู้รู้พระสูตร. วิ. สุตฺตนฺตํ อธิเตติ สุตฺตนฺติโก. ณิก ปัจ. ตรัตยทิตัท.
  37. สุตฺตโส : (อัพ. นิบาต) โดยการจำแนกแห่งสูตร, โดยวิภาคแห่งสูตร. สุตฺต+โส ปัจ.
  38. สุติ : (อิต.) เวท (ถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์ที่ผูกขึ้นเป็นมนตร์ หรือความรู้ทางศาสนา). วิ. สฺยฺยเต ธมฺมํ เอตายาติ สุติ. สุ สวเน, ติ.
  39. สุทฺธนฺต : (ปุ.) ที่อยู่สำหรับฝ่ายใน, ราชวังชั้นใน, ห้องพระมเหสี. วิ. สุทฺธา กามาปคมตฺตา ปริสุทฺธา รกฺขกา อนฺเต สมีเป อสฺเสติ สุทฺธนฺโต.
  40. สุทฺโธทน : (ปุ.) สุทโธทนะ พระนามของเจ้าศากยะผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ ซึ่งเป็นพระราชบิดาของเจ้าชายสิทธัตถะ.
  41. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  42. สุปณฺณ : (ปุ.) นกมีปีกงาม, ครุฑ. วิ. กนกรุจิรตฺตา โสภโน ปณฺโณ ปกฺโข ยสฺส โส สุปณฺโณ.
  43. สุวีร : (ปุ.) สุวิระ ชื่อโอรสพระอินทร์, โอรสพระอินทร์. วิ. อติสเยน วิโรติ สุวีโร. อิตสเยน วา สูรตฺตา สุวีโร.
  44. เสกฺข เสข : (ปุ.) บุคคลผู้ยังต้องศึกษา, บุคคลที่ยังต้องศึกษา, เสกขบุคคล, เสขบุคคล, พระเสขะ คือ พระอริยบุคคล ๗ เบื้องต้น. สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, โณ. ศัพท์หลังลบ กฺ. อภิฯ วิ. ตีหิ สิกฺขาหิ ยุตฺตตฺตา เสกฺโข เสโข วา.
  45. เสทช : (ปุ.) สัตว์เกิดแต่เหงื่อไคล, สัตว์เกิดแต่น้ำเน่า เช่น หนอนเป็นต้น. เสทกรณตฺตา อุสฺมา เสโท, ตโต ชาตา เสทชา. เป็น สํเสทช บ้าง.
  46. เสนปณฺณิ เสปณฺณี : (อิต.) มะรื่น, มะดูก. วิ. สิริมนฺตานิ ปณฺณานิ ยสฺสา สา เสปณฺณี เสปณฺณี วา. สิริสทฺทสฺส เสอาเทโส. ไม้มะเดื่อ ไม้ไข่เน่า ไม้มะตูม ก็แปล.
  47. โสคต : (วิ.) มีพระสุคตเป็นเทวดา วิ. สุคโต อสฺส เทวตาติ โสคโต. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  48. โสตาปตฺติผลาทิ : (วิ.) (ผล) มีโสดาปัตติผล เป็นต้น. วิ โสตสฺส อาปตฺติ โสตาปตฺติ. โสตาปตฺติโต ชาตํ ผลํ โสตาปตฺติผลํ. โสตาปตฺติผลํ อาทิ เยสํ ตานิ โสตาปตฺติ ผลาทีนิ (ผลานิ).
  49. โสธนี : (อิต.) ไม้กราด, ไม้กวาด. วิ. โสเธติ เอตายาติ โสธนี. สุธฺ สุทฺธิยํ, ยุ, อิตถิยํ อี.
  50. โสรจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีแล้วในธรรมอันงาม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีในธรรมอันงาม, ความเป็นผู้ยินดีในธรรมอันงาม, ความระมัดระวัง, ความไม่ฟุ้งซ่าน, ความไม่คะนอง, ความเรียบร้อย, ความเสงี่ยม. วิ. สุรตสฺส ภาโว. โสรจฺจํ. สุรต+ณฺยปัจ. ภาวตัท.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | [1601-1650] | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0896 sec)