Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 1201-1250
  1. เอตฺถ : (อัพ. นิบาต) ใน...นี้. เอต แปลงมาจาก อิม ถ ปัจ ลบ อ ที่ ต อภิฯ. หรือลง ตฺถ ปัจ. แปลง เอต เป็น เอ.
  2. เอตทคฺค : (วิ.) ผู้ยอดในทางหนึ่ง, ผู้เยี่ยมใน ทางหนึ่ง, ผู้ยอดเยี่ยมในทางใดทางหนึ่ง, ผู้เลิศในทางหนึ่ง, ผู้เลิศในทางใดทางหนึ่ง, ผู้เยี่ยมในทางใดทางหนึ่งโดยเฉพาะ, ผู้เลิศ ในทางใดทางหนึ่งโดยเฉพาะ, เอตทัคคะ. เอก+อคฺค แปลง ก เป็น ต ทฺ อาคม.
  3. เอตาทิส เอทิกฺข เอริกฺข เอทิส เอริส เอที : (วิ.) เห็น...นั้นประดุจ...นี้, เห็นซึ่งบุคคล นั้นประดุจบุคคลนี้, เห็นบุคคลนั้นราวกะ ว่าบุคคลนี้, เห็นปานนี้. วิ. เอตมิว นํ ปสฺสตีติ เอตาทิโส, ฯลฯ. เอตศัพท์ซึ่ง แปลงมาจาก อิม เป็น บทหน้า ทิสฺ ธาตุ ในความเห็น กฺวิ ปัจ. ศัพท์แรก ทีฆะ อ ที่ ต ศัพท์หลัง ๆ แปลง เอต เป็น เอ ศัพที่ ๒ และ ๓ แปลง สฺ เป็น กฺข ศัพท์ ที่ ๓ และ ๕ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๖ ลบ ที่สุดธาตุ แปลง อิ เป็น อี. รูปฯ ๕๗๒.
  4. กปฺปสตสหสฺสปูริตปารมี : (วิ.) ผู้มีบารมีอัน ให้เต็มแล้วตลอดแสนแห่งกัป. เป็น ทุ.ตัป. มี ฉ.ตัป. และ ต.ตุล. เป็นท้อง.
  5. ขนฺธธาตุอายตนาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วย ธรรมมีขันธ์และธาตุและอายตนะเป็นต้น. เป็น ต.ตัป. มี ส. ทวัน. และ ฉ. ตลุ เป็นท้อง.
  6. จตุตฺถมคฺคญาณ : (นปุ.) ญาณ (ความรู้) อัน สัมปยุตแล้วด้วย มรรคที่สี่. เป็น ต.ตัป. มี วิเสสนบุพ.กัม.เป็นท้อง.
  7. สุปุปฺผิตตรุณวนสณฺฑมณฺทิต : (วิ.) (ป่าท.) อันประดับแล้วด้วยชัฎแห่งป่าแห่งต้นไม้ มีดอกอันบานดีแล้วและต้นไม้มีดอกอ่อน. เป็น ต.ตัป. มี ฉ. ตัป. วิเสสนบุพ. กัม. ฉ. ตุล. ฉ. ตุล. อ. ทวัน. และ ฉ. ตัป. เป็นภายใน.
  8. อกตปาปกมุม : (วิ.) มิใช่ผู้มีกรรมอันเป็นบาปอันทำแล้ว. นบุพ.กัม. มีวิเสสนุบุพ.กัม. และ ต.ตุล.เป็นท้อง.
  9. เอกาทส เอการส : (ไตรลิงค์) สิบเอ็ด. วิ. เอกญฺจ ทสา จาติ เอกาทสา. อ. ทวัน. สิบยิ่งด้วยหนึ่ง วิ. เอเกน อธิกา ทสาติ เอกาทส. ต.ตัป. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น ร.ส. เอกาทศนุ
  10. กงฺคุ : (อิต.) ข้าวฟ่าง, ประยงค์ ชื่อไม้พุ่มชนิด หนึ่ง ใบมีกลิ่นหอม. วิ. โสภณสีสตฺตา คมนียภาวํ คจฺฉตีติ กงฺคุ. คมฺ คติยํ, อุ. แปลง ค เป็น ก มฺ เป็น คฺ นิคคหิตอาคม. โมคคัลลายนพฤติ วิ. กามียตีติ กงฺคุ กมุ อิจฺฉายํ, อุ. เอกักขรโกสฎีกาวิ. เกน คุณาติ สททํ กโรตีติ กงฺคุ. ก ปุพฺโพ, คุ สทฺเท, อุ. ส. กงฺคุ, กงฺคุนี.
  11. กจฺฉป : (ปุ.) เต่า วิ. กจฺเฉน ปิวตีติ กจฺฉโป. กจฺฉปุพฺโพ, ปา ปาเน, กฺวิ. ส. กจฺฉป.
  12. กชฺชล : (นปุ.) ยาตา, ยาทาตา (ยาหยอดแก้ โรค ยาหยอดทำให้ตาเยิ้ม). วิ. กชฺชติ โรคนฺติ กชฺชลํ. กชฺช พฺยถเน, อโล.
  13. กญฺญ า : (อิต.) หญิงผู้อันบุรุษ ท. พึงยินดี, หญิงผู้อันบุรุษยินดี, หญิงผู้ยังบุรุษให้ยินดี, หญิงผู้รุ่งเรือง, สาวน้อย, นาง, นางสาว, นางสาวน้อย, หญิงสาว, นางงาม, ผู้หญิง (คำนามนาม มิใช่วิเสสนะ), ธิดา, พะงา. วิ. กนียติ กามียติ อภิปตฺถียติ ปุริเสหีติ กญฺญา. กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, โย, นฺยสฺส ญตฺตํ ทฺวิตฺตํ, อิตฺถิยํ อา กํ ปุริสํ ญาเปตีติ วา กญฺญา. กปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ, ปฺโลโป, ญฺสํโยโค. โยพฺพนภาเว ฐิตตฺตา กนตีตี วา กญฺญา. ส. กนฺยา กนฺยกา.
  14. กณฺฐก : ป. ดู กณฺฏก, ชื่อม้าตัวหนึ่งที่เป็นพาหนะของเจ้าชายสิทธัตถะ
  15. กณฺฐ ก : (ปุ.) กัณฐกะ ชื่อม้า ซึ่งพระสิทธัตถะ ทรง เมื่อเสด็จออกผนวช, ละมั่ง, กวาง, เครื่องประดับคอ, สร้อยคอ, ก้าง อุ. มจฺฉกณฺฐก ก้างปลา. เป็น กนฺถก บ้าง.
  16. กณฺเณชป : (ปุ.) คนพูดกระซิบที่หู, คนส่อ เสียด. กณฺเณ+ชป เป็น อลุตตสมาส.
  17. กตฺตุ กตฺตุก : (วิ.) ผู้ทำโดยปกติ, ผู้ทำ. วิ. โย กโรติ โส กตฺตา.
  18. กติกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นครั้งเท่าไร, สิ้น คราวเท่าไร, สิ้นวาระเท่าไร, สิ้นกี่ครั้ง. กติ + กฺขตฺตํ ปัจ. ในอรรถ วาร. เป็น อัจจันตสังโยคะ โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๑๕. กี่ครั้ง, กี่คราว, กี่หน. เป็นกิริยาวิเสสนะ.
  19. กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
  20. กทริย : (วิ.) ผู้มีความตระหนี่อันกระด้าง, ผู้ ตระหนี่, ผู้ดีเลว. วิ. ปรานุปโภเคน อตฺถสญจยสีลตฺตา กุจฺฉิโต อริโย อตฺถปติ กทริโย. อทายกตฺตา กุจฺฉิตํ ฐานํ อรตีติ วา กทริโย. กุปุพฺโพ, อรฺ คมเน, อิโย, กุสฺส กทอาเทโส.
  21. กนีนิกา : (อิต.) ลูกตาดำ, แก้วตา, หน่วยตา, กญฺญา+อก ปัจ. แปลง กญฺญา เป็น กนิน ทีฆะ อิ เป็น อี เอา อ ที่ น เป็น อิ อาอิต.
  22. กปฺปาสิก : (ไตรลิงค์) ผ้าอันบุคคลทอด้วยฝ้าย, ผ้าฝ้าย, ผ้าด้าย. กปฺปาสผลวิการตฺตา กปฺปาสิกํ. ณิก ปัจ.
  23. กปิลวตฺถุ : (นปุ.) เมืองเป็นที่อยู่ของฤาษีชื่อ กปิละ, เมืองชื่อกบิลพัสดุ์, เมืองกบิลพัสดุ์. วิ. อาทิกาเล กปิลนามกสฺส อิสิโน นิวาส นฏฺฐนตฺตา กปิลวตฺถุ.
  24. กปิสีส : (ปุ.) ลิ่มไม้, ดาฬประตู. กปิรูปมตฺถ- กตฺตา กปิสีโส.
  25. กพรมณิ : (ปุ. อิต.) แก้วลาย, เพชรตาแมว, แก้วตาแมว. วิ. กพโร สพโฬ มณิ กรพมณิ.
  26. กมฏฐ : ป. เต่า; เม่น; ไม้ไผ่
  27. กมฺมชรูป กมฺมชฺชรูป : (นปุ.) รูปอันเกิดแต่ กรรม, กัมมชรูป กัมมัชชรูป คือรูปที่ กรรมสร้าง มองด้วยตาเนื้อไม่เห็น เกิด พร้อมกับปฏิสนธิจิต เพราะจิตยังอาศัยรูป นี้อยู่ และเกิดดับเป็นสันตติ จนถึงจุติจิต (มรณสันนวิถี). ส. กรฺมชรูป.
  28. กรกา : (อิต.) ลูกเห็บ (เมล็ดน้ำแข็งที่ตกจาก อากาศ เมฆที่ละลายไม่หมด). กเรน หตฺ เถน คยฺหุปคตฺตา กรกา. ส. กรก.
  29. กรณฺฑ : (ปุ. นปุ.) หม้อ, หม้อน้ำ, ภาชนะน้ำ, ภาชนะ มีฝาปิด, กะทอ, ตะกร้า, เข่ง, หีบ, ตลับ, ผอบ (ผะอบ), ขวด, กระติก, คราบ (งู), เตียบ (ตะลุ่มปากผาย มีฝา ครอบ สำหรับใส่ของกิน), อวน, กรัณฑ์. วิ. กรียตีติ กรณฺโฑ. กรฺ กรเณ, อณฺโฑ. กรณฺฑิ ภาชนตฺเถ วา, อ. อภิฯ. กัจฯ ๖๖๓ วิ. กรณฺฑิตพฺโพ ภาเชตพฺโพติ กรณฺโฑ. ก ปัจ. ลบ ก เป็น กรณฺฑก โดยไม่ลบ ก หรือลง อ ปัจ. ตามอภิฯ ก็ ลง ก สกัด บ้าง. ส. กรณฺฑ.
  30. กลฺลหาร : (นปุ.) จงกลณี (บัวดอกคล้ายบวบ ขม) วิ. กสฺส ชลสฺส หารํ วิย โสภากรตฺตา กลฺลหารํ. ก+หาร ลง ลฺ อาคมหลัง ก แปลง ลฺ เป็น ลฺล เป็น ปุ. บ้าง.
  31. กวิตฺต : นป., กวิตา อิต. ความเป็นกวี
  32. กสิตฺวา : กิต. ดู กสิต
  33. กากปกฺข : (ปุ.) ผมที่ขมวดไว้เป็นหย่อม ๆ (ผมเด็กขมวดแยกออกเป็น ๓ หย่อม หรือ ๕ หย่อม), ผมแหยม (ปอยผมที่เอาไว้เป็น กระจุกบนหัวนอกจากจุก), ไรผม, ปีกของ กา, ปีกกา. กากานํ ปกฺขสณฺฐ านตฺตา กากปกฺโข.
  34. กาจ : (ปุ.) สาแหรก, จักษุโรค (โรคตาชนิด หนึ่ง), กระจก กาจมโย ปตฺโต ธาเรตพฺโพ. ภิกษุไม่พึงใช้บาตรกระจก ไตร. ๗ / ๓๔. โบราณแปลว่าแก้วหุง. กจฺ พนฺธเน, โณ.
  35. กาตร : (วิ.) ไม่หาญ, ไม่แน่ใจลงไป, ทำให้ ฉงน. กุศัพท์ ตร ปัจ. แปลง กุ เป็น กา หรือ กุบทหน้า ตรฺธาตุในความข้าม อ ปัจ. วิ. อีสํ ตรติ สการิยํ กตฺตุ สกฺโกตีติ กาตโร. อภิฯ. ส. กาตร.
  36. กานน : (นปุ.) ดง, ป่า, หมู่ไม้. วิ. เกน ชเลน อนนํ ปาน มสฺสาติ กานนํ. ฐิ ตมชฺฌนฺติก- สมเย กวติ สทฺทํ กโรติติ วา กานนํ. โกกิลม ยูราทโย กวนฺติ สทฺทายนฺติ กูชนฺติ เอตถาติ วา กานนํ. กุ สทฺเท, ยุ. ส. กานน.
  37. กามยิตุ กามิ : (วิ.) ผู้ใคร่ วิ. กาเมตีติ กามยิตา กามิ วา. ริตุ, ณิ ปัจ. ลบ รฺ ลง ยฺ อาคม.
  38. กามาภิมุข : ค. ดู กามาธิมุตฺต
  39. การุญฺญ : นป., การุญฺญตา อิต. ความกรุณา, ความเอ็นดู
  40. การุณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยความเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาย นิยุตฺโต การุณิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้มีความกรุณา วิ. กรุณาย อสฺส อตฺถีติ การุณิโก. กรุณา ตสฺมึ อตฺถีติ วา การุณิโก. อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ผู้มี ความเอ็นดูเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. กรุณา สีลํ อสฺสาติ การุณิโก. ผู้มีปกติเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาสีโลการุณิโก. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  41. กาสฺมรี กาสฺมารี กาสฺมิรี : (อิต.) ไม้มะรื่น, ไม้มะดูก, ไม้ไข่เน่า, ไม้มะตูม, กะบก. กสฺมีรเทเส ชาตตฺตา กาสฺมารี. กาสฺ ทิตฺติยํ วา, มโร, อิตฺถิยํ อี.
  42. กาฬญฺชน : นป. ยาหยอดตาสีดำ
  43. กิมิ : (ปุ.) หนอน, แมลง, แมลงต่าง ๆ, ตั๊กแตน, กฤมิ. วิ. กุจฺฉิตํ อมตีติ กิมิ. กุปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, อิ. แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แล้ว แปลงเป็น อิ. กียติ หึสียติ กิปิลฺลิกาทีหิ พลวสวิสติรจฺฉานคตาทีหิ กินาติ หึสติ วา ปรสตฺเตติ กิมิ. กิ หึสายํ, อิ มฺ อาคโม. มิ ปจฺจโย วา. ส. กฤมิ กริมิ.
  44. กิร : (อัพ. นิบาต) ได้ยินว่า, ดังได้สดับมา, ทราบว่า, ได้ทราบว่า, นัยว่า, ข่าวว่า. เป็น อนุสสวนัตถะ. ไม่ชอบใจ. เป็น อรุจิยัตถะ.
  45. กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
  46. กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
  47. กึ : (นปุ.) อะไร, ประโยชน์อะไร. เวลาแป คุดคำว่าประโยชน์เข้ามา เช่น กึ อ. ประโยชน์อะไร หรือโยค ปโยชนํ เป็น กึ ปโยชน์ อ. ประโยชน์อะไร. เอสา เต อิตฺถี กึ โหติ. สตรีนี้เป็นอะไรของท่าน?. เอเต มนุสฺสา ตุมฺหากํ กึ โหนฺติ. คนเหล่านี้ เป็นอะไรของท่าน. กึ ศัพท์ในที่นี้เป็น วิกติกกัตตา.
  48. กึกร กึการ : (ปุ.) คนใช้ (คนรับใช้), ทาส, บ่าว. วิ. กิญฺจิ กโรตีติ กึกโร กึกาโร วา. กึปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, โณ. อห มชฺช กึ กริสฺสามีติ ภตฺตุ กตฺตพฺพกิจฺจยาจนตฺตา วา กึกาโร. ส. กึกร กิงฺกร.
  49. กุญฺชร : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. กุญฺโช หนุ ทนฺโต จ, ตํโยคา กุญฺชโร. ร ปัจ. กํ ปฐ วึ ตทภิฆาเตน ชราเปตีติ วา กุญฺชโร. กุปุพฺโพ, ชรฺ วโยหานิมฺหิ, อ, อลุตฺตสมาโส อถวา, กุญฺเช คิริกูเฏ รมติ, โกญฺจนาทํ นทนฺโต วา จรตีติ วา กุญฺชโร. อภิฯ. รูปฯ ๓๘๕ วิ. กุญฺชา หนุ เอตสฺส สนฺตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. ร ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ วิ. กุญฺเช รมตีติ กุญฺชโร. กุญฺชปุพฺโพ, รมุ กีฬายํ, กฺวิ. ส. กุญฺชร.
  50. กุฐารี กุฏฺฐ ารี : (อิต.) ผึ่ง ชื่อเครื่องมือสำหรับ ถากไม้ชนิดหนึ่งมีรูปคล้ายขวาน วิ. กุจฺฉิตา ธารา ยสฺสาติ กุฐารี กุฏฺฐารี. แปลง ธ เป็น ฐ. ฏฺฐ. เป็น กุธารี โดยไม่แปลงบ้าง ขวาน ก็แปล.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | [1201-1250] | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0758 sec)