Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 1651-1700
  1. โสสานิก : (วิ.) ผู้อยู่ในป่าช้า วิ. สุสาเน วสตีติ โสสานิโก. ผู้มีการอยู่ในป่าช้าเป็นปกติ วิ. สุสาเน วสนํ สีลมสฺสาติ โสสานิโก. ผู้มีปกติอยู่ในป่า วิ. สุสาเน วสนสีโล โสสานิโก. ผู้อยู่ในป่าช้าเป็นวัตร. ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท.
  2. หริจนฺทน : (ปุ. นปุ.) จันทร์เหลือง, จันทร์เทศ. วิ. หริ มณฺฑูโก, ตทากาเร ปพฺพเต ชาตํ จนฺทนํ หริจนฺทนํ.
  3. หิม : (นปุ.) ความหนาว, ความเย็น, ฤดูหนาว, น้ำค้าง, หิมะ ชื่อละอองน้ำที่แข็งรัดตัว มีลักษณะเหมือนปุย. วิ. หึสตีติ หิมํ. หึสฺ หึสายํ, อ, สสฺส โม, นิคฺคหิตโลโป. อตฺตโน สีตลภาเวน สตฺเต หิโนตีติ หิมํ. หิ หึลายํ, อิโม. หิโนตีติ หิมํ. หิ คติยํ. อภิฯ ปถวีปพฺพตาทีสุ หิโนติ ปตตีติ หิโม. หิ คติยํ, โม. กัจฯ และ รูปฯ ลง ม ปัจ. และเป็น ปุ.
  4. หิริเวร : (นปุ.) เครือเขาหญ้านาง, เครือเถาหญ้านาง, เครือหญ้านาง, เถาหญ้านางชื่อเครือเถาสมุนไพรอย่างหนึ่ง. วิ. หิรินามิกาย เทวธีตาย สรีรโต สญฺชาตตฺตา หิริเวรํ.
  5. อกฺก : (ปุ.) ดวงอาทิตย์, พระอาทิตย์, อจฺจียเตติ อกฺโก (อันเขาบูชา). อจฺจ ปูชายํ, โณ, จฺจสฺส กฺโก.มหาชุติตายอกฺกียติตปฺปสนฺเนหิชเนหีติอกฺโก.อกฺกฺถวเน, อ.ต้นขอนดอก, ต้นรัก, ไม้รักแดง, ลูกขลุบ, เพลารถ.วิ.ตปฺปริยายนามกตฺตาอรตีติอกฺโก.อรฺ คมเน. โก.รสฺส โก(แปลง รฺเป็น ก) ส.อรฺก.
  6. อกฺขโกฏิ : (อิต.) หางแห่งตา, หางตา.
  7. อกฺขฉิทฺท : (นปุ.) กระบอกตา.
  8. อกฺขิ : (นปุ.) ตา, ดวงตา, นัยน์ตา (หมายเอาลูกตาที่กลอกไปมา)วิ. อสติ วิสเยสุพฺยาปีวิย ภวตีติ อกฺขิ. อสุ พฺยาปเน, ขิ, สสฺส โก. อถวา, อกฺขติ วิสเยสุ พฺยาปีภวติ อกฺขติ วา เอเนนาติ อกฺขิ. อกฺข พฺยาปนทสฺสเนสุ, อิ. ส. อกฺษิ.
  9. อกฺขิโกฏิ : (อิต.) หางแห่งตา, หางตา.
  10. อกฺขิค : (นปุ.) วัตถุอันโค้งอยู่ที่ตา, ขนหางตาขนตา, ขนคิ้ว.อกฺขิ+อค.
  11. อกฺขิคณฺฑ : นป. โหนกตา
  12. อกฺขิคูถ : (ปุ.) ขี้ตา.
  13. อกฺขิฉิทฺท : นป. ช่องตา
  14. อกฺขิตจ : (ปุ.) หนังตา.
  15. อกฺขิทล : (นปุ.) หนังตา.
  16. อกฺขิมล : นป. ธุลีจากตา, ผงจากตา
  17. อกฺขิมูล : (นปุ.) ขี้ตา.
  18. อกฺขิโรค : ป. โรคตา
  19. อกฺขิอญฺชน : (นปุ.) ยาหยอดตา, ยาทาตา.
  20. อคฺคตฺต : นป. ดู อคฺคตา
  21. อชฺชตคฺค : (วิ.) มีวันนี้เป็นต้น, มีในวันนี้เป็นต้น, อชฺช+อคฺค ตฺ อาคม.
  22. อชฺฌกฺข : (ปุ.) คนดูการ, คนดูการณ์, คนตรวจการณ์, คนตรวจตรา, คนยาม, เจ้าพนักงาน.วิ. คาเมสุ อธิกตฺตา อธิกา อิกฺขา อนุภวน เมตสฺสาติ อชฺฌกฺโข.อธิ+อิกข แปลง อธิ เป็นอชฺฌ แปลง อิ ที่อิกฺข เป็น อ.
  23. อชาตสตฺตุ : (ปุ.) พระเจ้าอชาตศัตรู พระนามพระเจ้าแผ่นดินมคธซึ่งเป็นพระราชโฮรสของพระเจ้าพิมพิสาร.ส. อชาตศตฺรุพระอินทร์พระศิวะ.
  24. อญฺชน : (ปุ.) พระเจ้าอัญชนะ พระนามพระเจ้าตาของพระพุทธเจ้า, ต้นอัญชัน มี๒ชนิด คือ เป็นไม้แก่นอย่าง ๑ เป็นไม้เถาอย่าง ๑.
  25. อญฺชนนาฬิ : อิต. หลอดสำหรับหยอดตาหรือจมูก, กล่องยาหยอดตา
  26. อญฺชนวณฺณ : ค. มีสีเหมือนสียาหยอดตา
  27. อญฺชนิสลากา : อิต. ไม้ป้ายยาตา
  28. อญฺชนิสลากาอญฺชนีสลากา : (อิต.) ไม้ป้ายยาตา.
  29. อญฺชนิสลากา อญฺชนีสลากา : (อิต.) ไม้ป้าย ยาตา.
  30. อญฺชนี : (อิต.) หีบยาตา, กลักยาตา, กระบอกยาตา.
  31. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยาก ให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี). วิ. อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺฐกถา. อตฺถปุพฺ โพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  32. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยากให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี).วิ.อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺกถา. อตฺถปุพฺโพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  33. อตฺตทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าเป็นตน วิ. อตฺตาอิติ ทิฏฺฐิ อตฺตทิฏฺฐิ
  34. อตฺตทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าเป็นตนวิ. อตฺตาอิติทิฏฺฐิอตฺตทิฏฺฐิ.
  35. อตฺตนิย : (วิ.) เกิดแล้วในตน, เกิดแล้วแต่ตน, เกิดในตน, เกิดแต่ตน, เนื่องด้วยตน, นี้ของตน, วิ. อตฺตนิ ชาโต อตฺตนิโย. อตฺตนา ชาโตอตฺตนิโย, อตฺตโน อิทนฺติ ยตฺตนิยํ. อิย ปัจ.ชาตาทิตัท.นฺอาคม.โมคฯขาทิกัณฑ์ลง นิย ปัจ.
  36. อตฺตสญฺญา : (อิต.) ความสำคัญว่าเป็นตน.วิ. อตฺตาอิติ สญฺญา อตฺตสญฺญา.
  37. อถโข : (อัพ. นิบาต) ครั้งนั้น, ครั้งนั้นแล, แต่, ถึงอย่างนั้น, ที่แท้, โดยแท้จริง, โดยแท้แล.
  38. อธม : (วิ.) ผู้เกิดแล้วในส่วนเบื้องต่ำ, น่าชัง, ถ่อย, บกพร่อง, ชั่ว, เลว, ทราม, ต่ำช้า, ต่ำทราม, หย่อน. อธัม. วิ. อโธภาเค ชาโตอธโม. อิม ปัจ. ชาตาทิตัท. เอาโอ ที่อโธเป็น อ ลบ ภาค และ อิ ที่อิม ปัจ.โอสฺสอตฺตํ, ภาคโลโป, อิมปฺปจฺจเยอิโลโปจ.
  39. อธิโรหณี : (อิต.) พะอง, บันได.วิ.อุทฺธ มาโรหเต เอตายาติ อธิโรหณี. อธิปุพฺโพ, รุหฺปาตุภาเว, ยุ, อิตถิยํอี. เป็นอธิโรหิณีเพราะแปลงอที่หเป็นอิบ้าง.
  40. อนตฺถ : (วิ.) อันตั้งอยู่ไม่ได้, เสื่อม.น. อาบทหน้าถาธาตุในความตั้งอยู่อปัจ.รัสสะอาเป็นอ.แปลงนเป็นอนซ้อนต.
  41. อนฺตราย : (ปุ.) ธรรมอันมาในระหว่าง, สภาพเป็นเครื่องเป็นไปในระหว่าง, ความฉิบหายอันมาในระหว่าง, การอุบาทว์, ความขัดข้อง, อันตราย (เหตุที่ทำให้ถึงความแตกดับ)วิ.จตุปฏิสนฺธีนมนฺตเรอายตีติอนฺตราโย.อนฺตรํวฺยวธานํอายติคจฺฉตีติวาอนฺตรา-โย.อนฺตราเวมชฺเฌอายนฺตีติวาอนฺตรา-โย.สมฺปตฺติยาวิพนฺธนวเสนสตฺตสนฺตา-นสฺสอนฺตเรเวมชฺเฌเอติอาคจฺฉตีติวาอนฺตราโย.อนฺตราบทหน้าอิ ธาตุ อ ปัจ.ส. อนฺตราย.
  42. อนฺเตปุร : (นปุ.) ภายในแห่งบุรี, ภายในแห่งเรือนหลวง, ภายในพระราชวัง, ห้องพระมเหสี, ห้องพระสนม.วิ.อนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํ.เป็นอนฺโตปุรํ.โดยแปลงอที่ต เป็นโอบ้างส.อนฺเตปุร.
  43. อนฺโตภสฺตคต : (วิ.) อันไปแล้วในภายในแห่งกระทอ, อนฺโต+ภสฺตา+คต.
  44. อนมตคฺค : (วิ.) มีที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามอยู่รู้ไม่ได้แล้ว, มีวิ.ตามลำดับ ดังนี้ปเรกเสสทวัน. อคฺโค จ ปุพฺโพ จ อคฺคา.วิเสสนบุพ.กัม.อนุคจฺฉิยมานา จ เตอคฺคาจาติอนุคจฺฉิมานคฺคา.นบุพ.กัม. น มตา อนมตา (อนุคจฺฉิยมานคฺคา)วิเสสน บุพ.กัม.อนมตาจเตอนุคจฺ-ฉิยมานคฺคาจาติอนมตคฺคา.ตทัสสิตัท.อนมตคฺคาอสฺสอตฺถีติอนมตคฺโค (สํสาโร วฎฺฎสํสาโร).มีสำนวนแปลอีกคือมีที่สุดอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว, มีที่สุดอันบุคคลไม่รู้แล้ว, มีที่สุดและเบื้องต้นอันใครๆ ไปตามไม่รู้แล้ว, มี่ที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว.
  45. อนาคาริย : (ปุ.) คนไม่ครองเรือน, ฯลฯ.แปลงกเป็นยหรืออิย ปัจ.ชาตาทิตัท.
  46. อนินฺทโลจน : (วิ.) ผู้มีนัยนฺตาหาที่ติมิได้.
  47. อนิมิสอนิมืสฺส : (ปุ.) เทวดา, ปลา (ไม่กระพริบตา).
  48. อนิมิส อนิมืสฺส : (ปุ.) เทวดา, ปลา (ไม่กระ พริบตา).
  49. อนุกมฺปา : (อิต.) ความไหวตาม, ฯลฯ.วิ.อนุปุนปฺปุนํกมฺเปติอตฺตาธารสฺสจิตฺตนฺติอนุกมฺปา.อนุปุพฺโพ, กมฺปฺ จลเน, อ, อิตฺถิ-ยํอา.ส.อนุกมฺปา.
  50. อนุตฺตร : (วิ.) ผู้ประเสริฐกว่าหามิได้, ไม่มีผู้ประเสริฐกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นยิ่งกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นจะยิ่งกว่า, ดีเลิศ, ยิ่ง, อย่างยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด. วิ. นตฺถิอุตฺตโรยสฺมาโสอนุตฺต-โร.นตฺถิตสฺสอนุตฺตโรติวาอนุตฺตโรส.อนุตฺตร.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | [1651-1700] | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0969 sec)