Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 401-450
  1. จิตฺตสาณี : อิต. ม่านอันวิจิตร, ฉากซึ่งมีลวดลายสวยงาม
  2. จิตฺตสาลา : อิต. ศาลาอันวิจิตร, ศาลาที่มีภาพเขียนสวยงาม, โรงแสดงภาพ
  3. จิตฺตสิพฺพน : ค. มีการเย็บประณีตงดงาม, มีการขลิบอันวิจิตร
  4. จิตฺตเหตุก : ค. มีจิตเป็นเหตุ
  5. จิตฺตาคาร : นป. เรือนอันวิจิตร, เรือนที่มีภาพเขียนสวยงาม, อาคารแสดงภาพ
  6. จิตฺตาคาร จิตฺราคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนอันสวย งาม, ห้องภาพ.
  7. จิตฺตานุปริวตฺตี : ค. ผู้หมุนไปตามจิต, ผู้เปลี่ยนแปลงไปตามจิต
  8. จิตฺตานุปสฺสนา : (อิต.) การตามเห็นจิต, ความตามเห็นจิต (คือการใช้ปัญญาตรวจตราดู จิตของตนให้รู้เท่าทันอารมณ์ ไม่ยึดมั่น ถือมั่น).
  9. จิตฺตุชฺชุกตา : อิต. ความซื่อตรงแห่งจิต, ความเป็นผู้มีจิตซื่อตรง
  10. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  11. จุติจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเคลื่อนจากภพที่เกิด, จุติจิต เป็นชื่อของจิตดวงที่เคลื่อนจากภพ ที่เกิด แล้วเป็นปฏิสนธิจิตทันที ไม่มีจิต อื่นคั่น จะเกิดเป็นอะไรนั้น ก็แล้วแต่กรรม ที่ทำไว้.
  12. เจตา : (อิต.) ความคิด, ความรู้, ความจงใจ, ความตั้งใจ.
  13. เจตาปน : นป. การแลกเปลี่ยน, การซื้อขาย
  14. เจตาเปติ : ก. แลก, เปลี่ยน, ซื้อขาย
  15. เจโตผรณตา : อิต. ความแผ่ซ่านแห่งจิต, ความอิ่มเอิบแห่งจิต, ความฟูใจ
  16. ฉนฺทตา : อิต. ดู ฉนฺท
  17. ฉฬภิญฺญาทิคุณยุตฺต : (วิ.) ผู้ประกอบแล้วด้วย คุณมีอภิญญาหกเป็นต้น.
  18. ฉาตตา : อิต. ดู ฉาตก
  19. ฉิทฺทตา : อิต. ความเป็นคือรอยแตกหรือช่อง, รอยแตก, ช่อง, รู
  20. ฉุปิต : ค. อันเขาแตะต้องแล้ว, อันเขาลูบคลำแล้ว
  21. เฉกตา : อิต. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ฉลาด, ความฉลาดเฉียบแหลม
  22. ชนตฺตา : อิต. ฉัตร, ร่มกันแดด
  23. ชนฺตาคาร : ป., นป. เรือนไฟ
  24. ชราพฺยาธิมรณมิสฺสตา : (อิต.) ความที่แห่ง ชาตินั้นเป็นชาติเจือด้วยชราและพยาธิและ มรณะ, ความที่แห่งชาตินั้นเป็นของมีชรา และพยาธิและมรณะเจือปน.
  25. ชาติกฺเขตฺต : นป. ที่เกิด, ภพที่เกิด
  26. ชาติ (ตฺ) ถทฺธ : ค. ผู้กระด้างหรือเย่อหยิ่งเพราะชาติ
  27. ชานนตา : อิต. ความรู้
  28. ชิคึสนตา, ชิคึสนา, ชิคึสา : อิต. ความอยากได้, ความต้องการ, ความปรารถนา, ความโลภ
  29. ชิณฺณตา : อิต. ความชรา, ความแก่, ความทุพพลภาพ
  30. ชิมฺหตา : อิต. ความคดโกง, ความไม่ซื่อ
  31. ชีรณตา : อิต. ความเป็นคืออันชรา, ความชรา, ความเก่าแก่, ความคร่ำคร่า, ความเสื่อม, ความทุพพลภาพ
  32. ชีวิตาสา : อิต. ความหวังในชีวิต, ความต้องการเป็นอยู่
  33. ชุติมตา : อิต. ความสุกใส, ความรุ่งเรือง
  34. เชคุจฺฉิตา : อิต. ความไม่พอใจ, ความสะอิดสะเอียน
  35. ฌานานุยุตฺต : ค. ผู้ประกอบฌานอยู่เนืองๆ, ผู้บำเพ็ญฌาน
  36. ญาณวิปฺปยุตฺต : (วิ.) (จิต) ไม่ประกอบด้วย ปัญญา, ปราศจากปัญญา.
  37. ญาณสมฺปยุตฺต : (วิ.) ประกอบด้วยปัญญา.
  38. ฐิตจิตฺต : ค. ผู้มีจิตตั้งมั่นแล้ว, ผู้ควบคุมจิตได้
  39. ฐิตตา : อิต. ความเป็นผู้ดำรงอยู่, ความเป็นผู้ตั้งมั่น
  40. ฐิ ติ : (อิต.) การหยุด, การหยุดไว้, ฯลฯ, ความหยุด, ฯลฯ, ความอดทน, ความทนทาน, ความมั่นคง, ความแน่นอน, ความเป็นไป, ความมีชีวิตอยู่, ฐานะ, เหตุ, ข้อบังคับ, ข้อ บัญญัติ, ประธานกริยา. วิ. ฐานํ ฐิติ. ฐา+ ติ ปัจ. แปลง อา เป็น อิ.
  41. ตถตฺตา : (อัพ. นิบาต) เพียงนั้นนั่นเทียว, เหมือนกัน, ฉันนั้น. ตถา+อิว รฺ อาคม.
  42. ตถตา : อิต. ความเป็นจริง, ความเป็นแท้, ความเป็นเช่นนั้น, ความเป็นเหมือนอย่างนั้น
  43. ตนฺตากุลกชาต : ค. ซึ่งผูกพันกันยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย
  44. ตนุตา : อิต., ตนุตฺต นป., ตนุภาว ป. ความผอม, ความบาง, ความน้อย
  45. ตมฺพเนตฺต : ค. มีนัยน์ตาสีน้ำตาล
  46. ตาวตา : (อัพ. นิบาต) มีประมาณเพียงนั้น, มีประมาณเท่านั้น.
  47. ติ : (ไตรลิงค์) สาม. ส. ตฺรย ตฺริ ไตฺร.
  48. ติ ตฺ ถ : (ปุ.) คนที่ควรเคารพ ( มีอาจารย์ เป็นต้น).
  49. ติตฺถญฺญุตา : อิต. ความรู้เรื่องลัทธิ
  50. ติตาลมตฺต : ค. สูงประมาณสามลำตาล
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0734 sec)