Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 151-200
  1. ตนย : (ปุ.) ลูก, ลูกชาย, ดนัย. วิ. ตนุมฺหา ชาโต ตนโย. ตนุ + ย ปัจ. ชาตาทิตัท. ตโนติ มุท มิติ วา ตนโย. ตนุ วิตฺถาเร, อโย, โย วา.
  2. โตรณ : (นปุ.) เสาค่าย, เสาระเนียด, ทวาร, โขนทวาร (ประตูป่า ประตูป่าที่ทำตาม ตำราพราหมณ์), เสาไต้, ซุ้ม. วิ. ถวนฺตา รณนฺตฺยเตรติโตรณํ. ถิ+รณ แปลง อิ เป็น โอ ถฺ เป็น ตฺ. อุปริมาลาทิยุตฺตโสภณ- ถมฺภทฺวย มุภยโต นิกฺขมิตฺวา ยํ พหิทฺวารํ กปฺปิยเต ตํ โตรณํ. ตุรฺ สีฆคติยํ, ยุ. ส. โตรณ.
  3. ทฺวิตา : (อิต.) ความที่แห่ง....นั้นเป็นของสอง เท่า, ความเป็นของสองเท่า. ทฺวิ+ตา ปัจ. ภาวตัท.
  4. ทีฆตา : (อิต.) ความยาว. ตา ปัจ ลงในภาวะ.
  5. เทวตา : (อิต.) เทวดา, เทพดา, เทพยดา, เทวัญ. คำ เทวตา นี้หมายเอาทั้ง เทพบุตร เทพธิดา และพรหม. เทโว เอว เทวตา. ตา ปัจ. สกัด. อภิฯ และรูปฯ ๓๖๕. ศัพท์ ที่แปลว่า เทวดา มี ๑๕ ศัพท์ และใช้เป็น พหุ. ทั้งสิ้น. ส. เทวตา.
  6. ธมฺมตา : (อิต.) ความเป็นแห่งธรรม, ความเป็นแห่งปัจจัย, ความเป็นเอง, จารีต, ธรรมเนียม, ประเพณี, สิ่งอันเป็นเอง, ธรรมดา คืออาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ หรือการเสื่อมสลาย คือเสื่อม สลาย. ธมฺม+ตา ปัจ. สกัด. ส. ธรฺมตา.
  7. ธมฺมนิยามตา : (ปุ.) ทำนองแห่งธรรม, ความแน่นอนแห่งธรรม, พระไตรลักษณ์. ตา ปัจ สกัด.
  8. ธุตฺต ธุตฺตก : (ปุ.) คนล่อลวง, ธุพฺพิ หึสายํ, โต. แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
  9. นตฺตุ : (ปุ.) หลาน (ทั้งหลานชายและหลาน สาว) ลูกของลูกชายหรือลูกของลูกสาว (หลานปู่ หลานย่า หลานตา หลานยาย) วิ. นหฺยติ เปเมนาติ นตฺตา. นหฺ พนฺธเน, ริตุ. แปลง หฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือลง ตุ ปัจ. หรือตั้ง นี นเย, ริตุ, ตุ วา. แปลง อี เป็น อ ถ้าลงริตุ ปัจ. ลบ ริ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ. ถ้าแปลง นตฺตุ ว่า หลานชาย หลานสาว ก็ เป็น นตฺตุธีตุ.
  10. นามธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นนาม, นามธรรม รู้ไม่ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น หรือกาย แต่ รู้ได้ทางใจ).
  11. นิยามตา : (อิต.) ทำนอง อุ. ธมฺมนิยามตา ทำนองแห่งธรรม. ตา ปัจ. สกัด.
  12. นิรุตฺต : (นปุ.) ภาษา, คำพูด. นิจฺฉย หรือ นิสฺเสส บทหน้า วจฺ ธาตุ ต ปัจ. ลบ จฺ แปลง ว เป็น อุ แปลง ต เป็น ตฺต รฺ อาคม. รูปฯ ๖๑๓.
  13. เปตเตยฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่บิดา, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปฏิบัติเกื้อกูลแก่บิดา, ความปฏิบัติเครื่องเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่บิดา, ความเป็นผู้เกื้อกูลแก่บิดา. ตา ปัจ. ภาวตัท.
  14. พฺยาวฏ พฺยาวต : (วิ.) ขวน ขวาย, พยายาม, กระ ตือรือร้น. วิ อา ปุพฺโพ, วฏฺ เวฐเน, อ. ศัพท์หลัง แปลง ฏ เป็น ต.
  15. พฺรหฺมญฺญตา : (อิต.) ความปฏิบัติเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่พรหม, ความประพฤติเกื้อกูลแก่พรหม. ตา ปัจ. สกัด.
  16. ภีรตา : (อิต.) ความกลัว, ฯลฯ. ตา ปัจ. สกัด.
  17. มชฺฌตฺต : (ปุ.) ตนตั้งอยู่แล้วในท่ามกลาง, มัธยัต, อุเบกขา. วิ. มชฺเฌ ฐโต อตฺตา สภาโว มชฺฌตฺโต.
  18. มตฺตา มตฺรา : (อิต.) การนับ, เครื่องนับ, เครื่องวัด, เครื่องชั่ง, เครื่องตวง, ความเป็นใหญ่. มา ปริ-มาเณ. ต ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๖๕๐.
  19. มมายิต : (วิ.) อัน..ถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา, อันโลกนับถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา, ยึดถือว่าเป็นของเรา, ยึดถือว่าของเรา. มม+อา+อยฺ ธาตุ ต ปัจ. อิ อาคม.
  20. มุตฺต : (นปุ.) ปัสสาวะ, น้ำมูตร, น้ำเบา, น้ำเยี่ยว, เยี่ยว. มุจฺ โมจเน, โต, จสฺส โต. มุตฺตฺ ปสฺสาเว วา, อ. มิหฺ เสจเน วา. แปลง ต เป็น ตฺต ลบ หฺ แปลง อิ เป็น อุ.
  21. มุหุตฺต : (ปุ.) กาลขณะหนึ่ง, กาลครู่หนึ่ง, เวลาขณะหนึ่ง, เวลาครู่หนึ่ง, ครู่ (ประเดี๋ยวเดียว), ครู่หนึ่ง. หุจฺฉฺ โกฏิเลฺยฺ, โต. มุอาคมต้นธาตุ ลบ จฺฉฺ แปลง ต เป็น ตฺต.
  22. เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
  23. สมฺมุสฺสนตา : (อิต.) ความเผลอเลอ, ความเลินเล่อ, ความหลงลืม, สํปุพฺโพ, มุสฺ สมฺโมเส, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน ตา ปัจ. สกัด.
  24. สหายตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสหาย, ประชุมแห่งสหาย. ตา ปัจ. ภาวตัทและสมุหตัท. ความเป็นสหาย, คุณชาติ เครื่องเป็นสหาย.
  25. สายิต : (นปุ.) ความยินดี, ฯลฯ, การจิบ. ต ปัจ. อิอาคม.
  26. สุกฎ สุกต : (นปุ.) การทำดี, การทำให้ดี, การทำงานให้ดี, บุญ, กุศล. วิ. สุขํ กโรตีติ สุกฎํ สุกตํ วา. สุขปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โต. ศัพท์ต้นแปลง ต เป็น ฎ. โสภนํ กรณํ อสฺสาติ วา สุกฎํ สุกตํ วา. ลบ ภน แปลง โอ เป็น อุ.
  27. สุญฺญตา : (อิต.) ความที่แห่ง...เป็นของว่างเปล่า, ความที่แห่งของเป็นของว่างเปล่า, ฯลฯ, ความเป็นของว่างเปล่า. ตา ปัจ. ภาวตัท. ความว่าง, ความว่างเปล่า, ฯลฯ. ตา ปัจ. สกัด.
  28. สุตฺต : (นปุ.) ความหลับ, ความฝัน. สุปฺ สยเน, โต. แปลง ปฺ เป็น ตฺ หรือแปลง ต เป็น ตุต ลบที่สุดธาตุ.
  29. โสภิต : (วิ.) งาม, ดี, ไพโรจน์. ต ปัจ. อิ อาคม.
  30. โสวจสฺสตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ฯลฯ, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. โสวจฺสฺส+ตา ปัจ. ภาวตัท. สกัด.
  31. อกตญฺญุตา : (อิต.)ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยอะไร ๆ ทำไม่ได้แล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยทำ (ปรุง แต่ง) ไม่ได้แล้ว, อกตฺ + ญู + ตา ปัจ. ซ้อน ญฺ รัสสะอู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจฺ รูป ฯ ๓๗๑.
  32. อิตฺถตฺตา : (อิต.) ความเป็นอย่างนี้, ฯลฯ. ตา ปัจ. ภาวตัท ซ้อน ตฺ.
  33. อีสธร : (ปุ.) อีสธร ชื่อภูเขาสัตตปริภัณฑ์ ลูก ๑ ใน ๗ ลูก, ภูเขาอีสธร. วิ. อีสํ มหิสฺสรํ ธาเรติ ตสฺส นิวาสนฏฺฐาน ตาติ อีสธโร. อีสปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, อ. ดู อิสธร ด้วย.
  34. อุชุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนตรง, ฯลฯ. ตา ปัจ.
  35. อุตฺตม : (วิ.) ดีที่สุด, เด่นที่สุด, ยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, เลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด, มากมาย, บริบูรณ์, อุดม. วิ. อพฺภุโต อพฺภูโต วา อตฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุคฺคตตมตฺตา วา อุตฺตโม. อุศัพท์ ตม ปัจ. ซ้อน ตฺ บางคัมภีร์เป็น อุพฺภโต อพฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุพฺภโต อตฺยตฺโถ อุตฺตโม. มติ ผู้เขียน. ส อุตฺตม.
  36. อุปวฺหยนฺตา อุปวฺหยตฺตา : (อิต.) การเจรจากัน. ตา ปัจ. สกัด ศัพท์ต้น นฺ อาคม ศัพท์หลัง ซ้อน ตฺ.
  37. ตุริยตาฬิตวาทิตนิคฺโฆสสทฺท : (ปุ.) เสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลประโคมแล้วและเสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลบรรเลงแล้ว. เป็น อ. ทวัน. มี ต.ตัป.วิเสสนบุพ.กัม.วิเสสนุต.กัม.ฉ.ตัป. วิเสสนบุพ.กัม. และ ฉ.ตัป. เป็นท้อง.
  38. กมฺมชวาต กมฺมชฺชวาต : (ปุ.) ลมเกิดแล้วแต่ กรรม ลมอันเกิดแต่กรรม, ลมเกิดแต่ กรรม, ลมเบ่ง, กัมมชวาต กัมมัชชวาต กรรมัชวาต (ลมเกิดในครรภ์เวลาคลอด บุตร). ส. กรฺมชวาต.
  39. กมฺมสริกฺขตา : อิต. ความเป็น คือ อันบิณฑิตพึงเห็นเสมอด้วยกรรม
  40. กมฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปรารถนา, ฯลฯ. ตาปัจ. ภาวตัท.
  41. กายคตาสติ : (อิต.) สติอันไปแล้วในกาย, สติอันไปในกาย, กายคตาสติ คือการใช้ สติควบคุมจิตพิจารณาร่างกาย เช่น ผม ขน เล็บ เป็นต้น ให้เห็นว่าไม่งาม.
  42. เขตฺตปาล : ป. ดู เขตฺตโคป
  43. เขตฺตาชีว เขตฺตาชีวี : (ปุ.) ชาวนา (ผู้มีอาชีพ ทำไร่ทำนา), คนผู้เลี้ยงชีวิตด้วยที่ดิน. วิ. ตฺเตน ชีวตีติเขตฺตาชีโว. เขตฺตสทฺทุปฺปทํ, อาปุพฺโพ, ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ศัพท์หลัง ลง อี ปัจ.
  44. คชตา : (อิต.) ฝูงช้าง, โขลงช้าง. วิ. คชานํ สมูโห คชตา.
  45. จตุจตฺตาลีส จตุจตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบยิ่งด้วย สี่, สี่สิบสี่. วิ. จตูหิ อธิกา จตฺตาสีสํ จตุจตฺตาลีสํ จตุจตฺตาฬีสํ วา.
  46. จิตฺตลตา : (อิต.) จิตรลดา ชื่อสวนพระอินทร์, สวนจิตรลดา (หลากด้วยไม้เถาต่างๆหรือ เป็นที่รวบรวมแห่งไม้ทิพย์). วิ. นานาลตาหิ วลฺลีหิ จิตฺตตฺตา จิตฺตลตา. เทวานํ วา จิตฺตาสา เอตฺถ อตฺถีติ จิตฺตา. อาสาวตี นาม ลตา, สา ยตฺถ อตฺถิ สา จิตฺตลตา. จิตฺตํ ลนฺติ คณฺหนฺตีติ จิตฺตลา, ทิพฺพรุกฺขา ; เตสํ สมูโห จิตฺตลตา.
  47. จิตฺตวิชฺชา : (อิต.) ความรู้ในเรื่องของจิต, วิชชา ว่าด้วยจิต, จิตตวิทยา, จิตวิทยา. วิ. จิตตฺวตฺถุมฺหิ วิชฺชา จิตฺตวิชฺชา.
  48. จิตฺตวิพฺภม : (ปุ.) การหมุนไปผิดของจิต, ความหมุนไปผิดของจิต, ความบ้า. วิ. จิตฺตสฺส วิพฺภโม จิตฺตวิพฺภโม.
  49. จิตฺตา : (อิต.) จิตตา ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๔ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๑ ดวง, ดาวตาจระเข้. วิ. ตจฺฉกสทิสตฺตา วิจิตฺตํ, ผลํ ททาตีติ จิตฺตา.
  50. จิตฺตาโภค : (ปุ.) ความคำนึงแห่งจิต, ความหวน คิดแห่งจิต, ความตั้งใจ. จิตฺต+อาโภค.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0818 sec)