Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 1501-1550
  1. ปรทาริก : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งภรรยาของคนอื่น ( ผิดเมียเขาในทางประเวณี ) วิ. ปรทารํ คจฺฉตีติ ปรทาริโก. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  2. ปรมตฺถทีปนี : อิต. อรรถกถาที่อธิบายปรมัตถธรรม; ชื่ออรรถกถาแห่งเถรคาถา, เถรีคาถา, วิมานวัตถุ, เปตวัตถุ, อุทาน, อิติวุตตกและปัญจปกรณ์แห่งอภิธรรมปิฎก
  3. ปรมนฺน : (นปุ.) ข้าวปายาส ( ข้าวระคนด้วย น้ำนม ) วิ. เทวนฺนตฺตา ปรมญฺจ ตํ อนฺนญฺเจติ ปรมนฺนํ.
  4. ปรสฺสปท : (นปุ.) บทเพื่อคนอื่น, บทเพื่อ ผู้อื่น. วิ. ปรสฺส ปทํ ปรสฺสปทํ. ฉ. ตัป. อลุตตสมาส.
  5. ปรายณ ปรายน : (นปุ.) ปรายณะ ปรายนะ ชื่อพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. ปเรหิ อุตฺตเมหิ อริยปุคฺคเลหิ อยิตพฺพนฺติ ปรายณํ ปรายนํ วา. ปรโต วา. อยิตพฺพนฺติ ปรายณํ, ปรปุพฺโพ, อยฺ คติยํ, ยุ. ปเรสํ วา อริยปุคฺคลานํ ปติฏฐานตฺตา ปรายณํ.
  6. ปริ : (อัพ. อุปสรรค) รอบ, โดยรอบ, ทั่วไป, กำหนด. ขาด, บ่อยๆ, อ้อม, เว้น อุ. ปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ออก อุ. ปริ สาลาย อายนฺติ วาณิชา. เฉพาะ อุ. รุกฺขํ ปริ วิโชตติ จนฺโท.
  7. ปริต : (ปุ.) ความแผ่ไป, ความขยาย, ความกว้าง. ปริปุพฺโพ, ตนุ วิตฺถาเร, โร. กัจฯ ๖๓๙ วิ. ปริ ตโนตีติ ปริโต. กฺวิ ปัจ.
  8. ปริตฺตาภ : (ปุ.) พรหมปริตตาภะ วิ. ปริตฺตา อาภา เอเตสนฺติ ปริตฺตาภา. เทวดาชั้น ปริตตาภะ, ปริตตาภะ ชื่อพรหมโลกชั้นที่ ๔ ใน ๑๖ ชั้น.
  9. ปโรกฺข : ค. พ้นสายตา, เกินวิสัยของตา
  10. ปวิเวก : ป., ปวิเวกตา อิต. ความสงบสงัด, การแยกออกจากหมู่อยู่แต่ผู้เดียว
  11. ปสนฺนมานส : ค. ดู ปสนฺนจิตฺต
  12. ปสาท : ป., นป. ความผ่องใส, ความเบิกบาน, ความบริสุทธิ์, ความยินดี, ความพอใจ, จิตที่มีความสุขผ่องแผ้ว, ศรัทธา, ความสงบระงับ; ประสาท เช่น “ประสาทตา” เป็นต้น
  13. ปสูติกา : อิต. ดู ปสูตา
  14. ปาฏิกุลฺย : นป., ปาฏิกฺกุลฺยตา อิต. ความปฏิกูล, ความสกปรกน่าเกลียด
  15. ปิ : อ. แม้ว่า, ผิว่า, แต่, ถึงกระนั้น, บางที, อย่างไรดี, สมควร, ด้วย, เหมือนกัน
  16. ปิยตฺต : นป., ปิยตา อิต. ความเป็นแห่งสิ่งหรือผู้ซึ่งน่ารักน่าพอใจ
  17. ปีฬิโกฬิกา : อิต. ขี้ตา, สิ่งปฏิกูลซึ่งไหลออกทางตาเป็นปกติ
  18. ปุณฺณตฺต : นป. ดู ปุณฺณตา
  19. ปุถุ : ๑. อ. นอกจาก, แต่, ต่างหาก, เว้นเสีย, คนละแผนก, ต่างๆ , กว้างขวาง; ๒. ค. หนา, ใหญ่, มาก, กว้าง, อ้วน
  20. ปุพฺพวิเทห : (ปุ.) บุพวิเทหะ ชื่อทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. เวเทน ปญฺญาย อีหนฺติ เอตฺถาติ เวเทโห. โส เอว วิเทโห. อิมํ ทีปมุปาทาย สิเนรุโต ปุพฺพาทิสาภาคตฺตา ปุพฺโพ จ โส วิเทโห จาติ ปุพฺพวิเทโห.
  21. ปุริม : (วิ.) เกิดแล้วในก่อน, เกิดในก่อน, มีในก่อน, มีในเบื้องหน้า, ต้น, เดิม. ปุร+อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  22. ปุริส : (ปุ.) ชาย, ผู้ชาย (ชาย), บุรุษ, คน, อาตมะ, มานพ, อาตมัน, จิต. วิ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ หทยํ ปูเรตีติ ปุริโส (ผู้ยังหทัยของมารดาและบิดาของตนให้เต็ม). ปุรฺ ปูรฺ วา ปูรเณ, อิโส. ถ้าตั้ง ปูรฺ ธาตุ พึงรัสสะ อู เป็น อุ. ปุ นิรยํ ริสตีติ ปุริโส (ผู้กำจัดนรก). เป็นความเชื่อของพราหมณ์ว่าลูกชายจะกำจัด คือป้องกันไม่ให้พ่อแม่ตกนรก. ปุ บทหน้า ริสฺธาตุในความกำจัด อ ปัจ. ปุริ อุจฺเจ ฐาเน เสตีติ ปุริโส (ผู้ดำเนินไปในฐานะสูง). ปุริปุพฺโพ, สิคติยํ, อ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ มโนรถํ ปุเรตีติ ปุริโส.
  23. ปุเรจาริก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยอันเที่ยวไปก่อน, ผู้ประ กอบด้วยอันเที่ยวไปในเบื้องหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้เที่ยวไปข้างหน้า, เป็นเครื่องนำหน้า, เป็นอารมณ์. ณิก ปัจ. สกัด.
  24. ปุเรภตฺต : (นปุ.) ก่อนแห่งภัต, กาลก่อนแต่กาลแห่งภัต (ในเวลาก่อนฉัน), ก่อนอาหาร, เวลาก่อนอาหาร, ปุเรภัต, วิ. ภตฺตสฺส ปุเร ปุเรภตฺตํ. ภตฺตา วา ปุเร ปุเรภตฺตํ.
  25. ปุโลม : (ปุ.) ปุโลมะ ชื่อของไวปจิตตาสูร ชื่อ ๑ ใน ๒ ชื่อ, ไวปจิตตาสูร.
  26. เปตฺติก เปตฺติย : (วิ.) เกิดพร้อมแล้วจากบิดา, เกิดจากบิดา เกิดแต่บิดา วิ. ปิติโต สมฺภูตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. มาข้างบิดา วิ. ปิติโต อาคตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา วิ. ปิตุโน สนฺตกํ เปตฺติกํ เปตุติยํ วา. อันเป็นของแห่งบิดา เป็นของแห่งบิดา วิ. ปิตุโน วตฺถุกํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย ส่วนโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๑ ลง ริยณฺ ปัจ. ลบ รฺ และ ณฺ.
  27. โปถุชฺชนิก : (วิ.) อันเป็นของมีอยู่แห่งปุถุชน, เป็นของปุถุชน. ปุถุชฺชน+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  28. โปโนพฺภวิก : (วิ.) มีปกติทำซึ่งภพใหม่อีก, มีกิริยาอันตกแต่งซึ่งภพใหม่เป็นปกติ, เป็นไปเพื่อความเป็นอีก,ทำความเกิดอีก. ปุน+ภว+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลง โออาคม หน้า น หรือแปลง อ ที่ น เป็น โอ ก็ได้ ซ้อน พฺ.
  29. ผคฺคุน : (ปุ.) เดือน ๔, มีนาคม, เดือนมีนาคม, อภิฯ วิ. ผคฺคุนิยา ปริปุณฺเณนฺทุยุตฺตาย ยุตฺโต มาโสผคฺคุโน. บท ปริปุณฺเณฯ ตัดบทเป็น ปริปุณฺณ+อินทฺ+ยุตฺต. รูปฯ ๓๖๒ วิ. ผคฺคุนิยา ยุตฺโต มาโส ผคฺคโน. เป็น ผคฺคุณ เพราะแปลง น เป็น ณ บ้าง.
  30. ผสฺส : (ปุ.) อันกระทบ, อันถูกต้อง, การกระทบ, การถูกต้อง, ความกระทบ, ความถูกต้อง. วิ. ผุสนํ ผสฺโส. ผัสสะ อารมณ์ วิ. ผุสิยเตติ ผสฺโส ผุสิตพฺโตติ วา ผสฺโส. ผุสฺ สมฺผสฺเส, อ, ผสสฺส ผสฺโส (แปลง ผุส เป็น ผสฺส). อภิฯ. รูปฯ ๕๖๑ ลง ณ ปัจ. สัมปยุตตธรรม ประกอบด้วยสิ่งนั้น ชื่อผัสสะแต่ละอย่าง เช่น ตากระทบรูป เป็นต้น.
  31. ผิต ผีต : (วิ.) แผ่ไป, เผล็ต, บาน, แพร่หลาย, มั่งคั่ง, ผึ่งผาย, กว้าง, กว้างขวาง. ผิ คมเน, โต. ศัพท์หลังทีฆะ.
  32. พฺยตฺติ : (อิต.) ความฉลาด, ฯลฯ, ความจัดเจน, ความจัดจ้าน, ความประจักษ์แจ้ง, ความปรากฏ. วิปุพฺโพ, อทฺ คติยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ทฺ หรือ คง ติ ไว้แปลง ทฺ เป็น ตฺ ก็ได้.
  33. พฺยาปาท : (ปุ.) ความจำนงภัย, ความขึ้งเครียด, ความป้องร้าย, ความผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, ความพยาบาท. วิ. วฺยาปชฺชติ วินสฺสติ จิตฺต เมเตนาติ วฺยาปาโท พฺยาปาโท วา. วิ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติมฺหิ, อ. เจตสิกธรรมอันยังประโยชน์เกื้อกูลและความสุขให้ฉิบหาย.
  34. พฺรหาหฺมณ : (ปุ.) พราหมณ์ มีความหมายดังนี้.- ๑. เป็นชื่อของชนวรรณะหนึ่ง วิ. พฺรหฺมํ อณตีติ พฺราหฺมโณ. มนฺเต สชฺชายตีติ อตฺโถ, พฺรหฺมปุพฺโพ, อณฺ สทฺเท, โณ. พฺรหฺมุโน อปจฺจํ พฺราหฺมโณ. ณ ปัจ. โคตตตัท. นฺ อาคม แปลง นฺ เป็น ณฺ. เขาถือว่า พวกเขาเกิดจาก อุระ หรือปากของพระพรหม.และ ๒. เป็นชื่อของพระอริยเจ้า พระอรหันต์ พาหิตปาปตฺตา พฺราหฺมโณ ชื่อ พระอรหันต์ เพราะความเป็นผู้มีบาปอันลอยแล้ว (ละบาปได้แล้ว).
  35. พลตฺต : นป. ดู พลตา
  36. พหุมานิต : ค. อันเขานับถือแล้วมาก, มีหน้ามีตา
  37. พหุวารก : (ปุ.) มะกอก, มะทราง, มะคำไก่, มะปราง. วิ. ปิจฺฉิลตฺตา พหูนิ วารีนิ ยสฺมึ โส พหุวารโก. แปลง อิ ที่ วาริ เป็น อก สกัด.
  38. พาลิสิก : (ปุ.) คนผู้จับปลาด้วยเบ็ด, พรานเบ็ด, พลิส+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  39. พาหา : (อิต.) แขน วิ. วหติ เอตายาติ พาหา. วหฺ ปาปุณเน, โณ, อิตฺถิยํ อา. อภิฯ ลง อ ปัจ.
  40. พาหุช : (ปุ.) กษัตริย์. พฺรหฺมพาหุโต ชาตตฺตา พาหุโช (เกิดจากแขนพระพรหม).
  41. พิมฺพา : (อิต.) พระนางพิมพา (มารดาพระราหุล). อติสยวณฺณสรีรยุตฺตตาย พิมฺพา.
  42. พีชก : ป. หน่อ, ตาต้นไม้, เชื้อแถว, เด็กเล็กๆ
  43. พุทฺธตฺต : นป. ดู พุทฺธตา
  44. พุทฺธภาว : ป. ดู พุทฺธตา
  45. พุทฺธิ : (อิต.) อันรู้, ความรู้, ความตรัสรู้, ความบรรลุ, ปัญญาเป็นเครื่องรู้, ปรีชา, ปัญญา, วิ. พุชฺฌเต ตายาติ พุทฺธิ. พุชฺฌนํ วา พุทฺธิ. พุธฺ อวคมเน, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบที่สุดธาตุ.
  46. พุทฺธิก : (วิ.) ผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า วิ. พุทฺเธ ปสนฺโน พุทฺธิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  47. โพธิ : (ปุ.) โพธิ์ ไม้โพธิ์ ต้นโพธิ์ ชื่อต้นไม้ ซึ่งเจ้าชายสิทธัตถะเมื่อทรงผนวชเป็นพระมหาบุรุษแสวงหาโมกขธรรมได้เสด็จประทับบำเพ็ญเพียรแล้วได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า. วิ. สพฺพญฺญุตญฺ ญาณํ พุชฺฌติ เอตฺถาติ โพธิ. พุธฺ อวคมเน, อิ.
  48. โพธิปกฺขิย : (วิ.) มีในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้. วิ. โพธิยา ปกฺเขภโว โพธิปกฺจขิโย. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท. โพธิยา ปกฺเข ปวตฺโต โพธิปกฺขิโย. โพธิสฺส วา ปกฺเข ภโว โพธิปกฺขิโย. โพธิ ใน วิ. นี้เป็น ปุ.
  49. ภตฺตุ : (ปุ.) ผัว, ภัสดา, ภัศดา, ภรรดา. ภรฺโปสเน, ริตุ, แปลง รฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ ลบ รฺ และ ลบ ริ. อภิฯ. รูปฯ ๕๕๙ ลง ตุ. ปัจ. แปลง รฺ เป็น ตฺ. ส. ภฺรตถุ.
  50. ภทฺทกจฺจานา ภทฺทกจฺจายา : (อิต.) ภัททกิจจานา ภัททกัจจายนา พระนามของพระมเหสีเจ้าชายสิทธัตถะ, พระนางพิมพา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | [1501-1550] | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0989 sec)