Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 1401-1450
  1. เตตฺตึส : (วิ.) (ที่) เป็นที่เกิดของเทวดาสาม สิบสององค์ วิ. เตตฺตึส เทวตา นิพฺพตฺตนฺติ เอตฺถาติ เตตฺตึส.
  2. เตลปณฺณิก : (นปุ.) จันทน์เหลือง, จันทน์- เทศ. ติลปณฺณปฺปมาณปตฺตยุตฺตตาย เตลปณฺณิกํ. ณิก ปัจ.
  3. เตลิก : (วิ.) ระคนด้วยงา วิ. ติเลน สํสฏฺฐํ เตลิกํ. มีน้ำมันเป็นสินค้า. วิ. เตลํ อสฺส ภณฺฑนฺ เตลิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  4. ถญฺญ : (นปุ.) นม (น้ำที่ออกจากเต้านม), น้ำนม, น้ำนมสด, นมสด, รสในถัน, รส เกิดจากถัน, น้ำนมอันเกิดจากเต้านม. วิ. ถนโต สมฺภุตํ ถญญ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ลง ย ปัจ. ลบ อ ที่ น และ ลบ ณฺ. ได้รูปเป็น ถนฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
  5. ทกฺขิณกฺขิ : (นปุ.) นัยน์ตาข้างขวา, ตาข้าง ขวา, ตาขวา.
  6. ทตฺติ : (อิต.) อันให้, การให้, เครื่องบูชา. ทา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ แปลง ติ เป็น ตฺติ หรือ ซ้อน ตฺ หรือลง ตฺติ ปัจ. ส. ทตฺติ.
  7. ทนฺตสฐ ทนฺตสฏฺฐ : (ปุ.) มะนาว วิ. อมฺพิล- ตฺตา ทนฺตสฺส สโฐ สฏฺโฐ วา อปการโก ทนฺตสโฐ ทนฺตสฏฺโฐ วา. สฐ หึสายํ, อ. ศัพท์หลังซ้อน ฏฺ.
  8. ทร ทรถ : (ปุ.) ความกลัว, ความเจ็บป่วย, ความกระวนกระวาย, ความเร่าร้อน, ทรฺ ภยทาเหสุ, อ, โถ. ทรสทฺโท จ ทรถสทฺโท จ กายทรเถ จิตฺตทรเถ กิเลสทรเถ จ วตฺตนฺติ. อภิฯ.
  9. ทฺวติปตฺต : (ปุ.) บาตรสองหรือบาตรสาม, สองบาตรหรือสามบาตร, สองสามบาตร, วิ. ทฺวิปตฺตา วา ติปตฺตา วา ทฺวติปตฺตา.
  10. ทฺวิช : (ปุ.) พราหมณ์ ชื่อคนวรรณะที่ ๒ ในวรรณะ ๔ วิ. กุลาจารพฺราหฺมณวเสน ทฺวิกฺขตฺตํชาตตฺตตา ทฺวิโช. ฟัน (กระดูกเป็นซี่ๆ อยู่ในปาก) วิ. ทฺวีสุ ฐาเนสุ ทฺวิกฺขตฺตุ วา ชายเตติ ทฺวิโช. สัตว์ผู้เกิดสองหน, นก. วิ. มาตุกุจฺฉิโต อณฺฑโต จาติ ทฺวิกฺขตฺตุชาตตฺตา ทฺวิโช. ส. ทฺวิช.
  11. ทฺวิสต : (นปุ.) ร้อยสอง, สองร้อย. วิ. เทฺว สตานิ ทฺวิสตํ ทฺวิสตานิ วา. หมวดสอง แห่งร้อย วิ. สตสฺส ทฺวิกํ ทฺวิสตํ. ฉ. ตัป. ลบ ก แล้ว กลับบท รูปฯ ๓๙๙.
  12. ทสสตนยน : (ปุ.) เทพผู้มีนัยน์ตาร้อยสิบหน, เทวดาผู้มีนัยนืตาพันหนึ่ง, เทวดาผู้มี นัยน์ตาหนึ่งพัน, ท้าวสหัสนัยน์ ชื่อพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๑๐ ชื่อ, พระอินทร์, วิ. ทสสตานิ นยนานิ ยสฺส โส ทสสตนยโน.
  13. ทสสตสหสฺส : (นปุ.) แสนสิบ, แสนสิบหน, สิบแสน, ล้าน, ล้านหนึ่ง, หนึ่งล้าน. วิ. สตสหสฺสสฺส ทสคุณิตํ ทสสตสหสฺสํ (การคูณด้วยสิบแห่งแสนชื่อว่าล้าน). ลบ คุณิต แล้วแปร ทส ไว้หน้า . รูปฯ ๔๐๐.
  14. ทาฐา : (อิต.) เขี้ยว, งาช้าง. วิ. ทํสติ เอตายาติ ทาฐา. ทํสฺ ทํสเน, โฐ, ทํสสฺส ทา (แปลง ทํสฺ เป็น ทา). ส. ทาฒา.
  15. ทานกถาทิเภท : (วิ.) (อนุปุพพิกตา) อันต่าง ด้วยกถามีทานกถาเป็นต้น.
  16. ทายชฺช : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์ เกื้อกูลแก่บุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์อันมารดาและบิดาพึงให้ วิ. ทายาทสฺส หิตํ ธนํ ทายชฺชํ. ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์ อัน...พึงให้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับ ทรัพย์มรดก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับมรดก. วิ. ทายาทสฺส ภาโว ทายชฺชํ. ทายาท+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา ที่ ยาลบ อ ที่ ท ลบณฺ รวมเป็น ทายทฺย แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  17. ทาสี : (อิต.) บ่าวผู้หญิง, หญิงที่เป็นบ่าว, คนรับใช้หญิง, คนใช้หญิง, หญิงคนใช้, ทาสหญิง. วิ. ทุกุจฺฉิตํ อสตีติ ทาสี. ทุปุพฺโพ, อสฺ อทเน, อ. แปลง อุ เป็น อา อี อิต. ทิยฺยนฺเต เอตายาติ ทาสี. ฎีกาอภิฯ เป็น ทียนฺเต ทา ทาเน, โส, อิตฺถิยํ อี. ส. ทาสี.
  18. ทิคฺฆิกา : (อิต.) คู ชื่อที่ดินที่ขุดเป็นคลอง หรือล่องเพื่อล้อมเป็นสิ่งที่ต้องการล้อม วิ. ทีฆภาเวน ยุตฺตตฺตา ทิคฺฆิกา. เป็น ทีฆิกาบ้าง.
  19. ทิฏฺฐธมฺมิก : (วิ.) อันเป็นไปในปัจจุบัน, อันเป็นไปในทิฏฐธรรม (ทันตาเห็น). วิ. ทิฏฺฐธมฺเม ปวตฺตํ ทิฏฺฐธมฺมิกํ. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  20. ทิพฺจกฺขุ : (นปุ.) จักขุอันเป็นทิพย์, ตาทิพย์, ทิพจักษุ, ทิพยจักษุ. ส. ทิวฺยจกฺษุ.
  21. ทิพฺพจกฺขุ : (ปุ.) ชนผู้มีตาทิพย์ (จะดูอะไรก็ เห็นได้หมด แม้จะมีวัตถุกั้น).
  22. ทิพฺพจกฺขุก : ค. ผู้มีทิพยจักษุ, มีตาทิพย์
  23. ทิพฺพญาณ : (นปุ.) ตาทิพ, ตาทิพย์, ทิพย-เนตร. ส. ทิวฺยเนตฺร.
  24. ทีฆนิกาย : (ปุ.) ทีฆนิกายชื่อคัมภีร์ เป็น คัมภีร์ต้นของพระสุตตันตปิฎก.
  25. ทีป : (ปุ. นปุ.) เกาะชื่อของแผ่นดินที่มีน้ำล้อมรอบและเล็กกว่าแผ่นดินที่เป็นทวีป.วิ.ทฺวิชาคตานิอาปานิอสฺมึเหตุภูเตติทีโป.แปลงทฺวิเป็นทิหรือลบวฺเหลือเป็นทิทีฆะเป็นทีลบอาและนที่อาปานรัสสะอาที่ปาอภิฯและฎีกาอภิฯ.ส.ทวีป.
  26. ทุกฺกรภาว : ป. ดู ทุกฺกรตา
  27. ทุกฺขขย ทุกฺขกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นแห่งทุกข์, ความสิ้นไปแห่งทุกข์, ทุกขขยะ ทุกขักขยะ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. สพฺพทุกขานํ ขยการณตฺตา ทุกฺขขโย ทุกฺขกฺขโย วา.
  28. ทุคฺคติ : (อิต.) คติชั่ว วิ. ทุฎฺฐุ คติ ทุคฺคติ. ลบ ฎฺฐุ ซ้อน คฺ. คติอันบัณฑิตติเตียน วิ. กุจฺฉิตา คติ ทุคฺคติ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น ทุ, การไปชั่ว, ความเป็นไปชั่ว, ภูมิเป็นที่ไป ชั่ว. ทุ+คติ ซ้อน คฺ. ที่เป็นที่ไปแห่งทุกข์, ที่เป็นที่ถึงซึ่งทุกข์. วิ. ทุกขสส คติ ทุคคติ. ลบ กขฺ ซ้อน ค. ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ วิ. ทุกฺขสฺส คติ ปติฏฺฐา ทุคฺคติ, ทุคคติ (ภพชั่ว). ส. ทุรฺคติ.
  29. ทุพฺพลตฺต : นป., ทุพฺพลตา อิต. ความเป็นผู้มีกำลังทราม, ความมีกำลังน้อย, ความอ่อนแอ
  30. ทุพฺพา : (อิต.) หญ้าแพรก วิ. อวมงฺคลํ ทุพฺพตีติ ทุพฺพา. ทุพฺพ หึสายํ, อ. ทุนฺนิมิตฺตาทโย วาเรนฺติ เอตายาติ วา ทุพฺพา. ทุนฺนิมิต-ตาทิปุพฺโพ, วรฺ อาวรเณ, อ. ลบบทหหน้าเหลือ ทุ และ ลบ รฺ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ อา อิต. ส. ทูพ, ทุรฺพพา.
  31. ทุพฺภิกฺขนฺตรกปฺป : (ปุ.) กัปของระหว่างมี ภิษาอัน...ได้โดยยาก. ทุพภิกขันตรกัป คือระยะเวลาที่กำหนดไว้ว่าเป็นตอนที่ ขาดแคลนอาหาร.
  32. ทูร : (วิ.) ไกล. อภิฯ วิ. ทุกฺเขน อรติ ยํ ตํ ทูรํ. อรฺ คมเน, อ. กัจฯ ๖๗๐ วิ. คมิตํ อลํ อนาสนฺนตฺตาติ ทูโร. รูปฯ ๖๖๔ ทุ คติยํ, อูโร. ส. ทูร.
  33. เทวตาส : (ปุ.) หญ้าลูกเค้า, หญ้าหนวดแมว. วิ. เทวตา อสนฺติ ภกฺขนฺติ ย โส เทวตาโส.
  34. เทวตูโปสถ : ป. ดู เทวตาอุโปสถ
  35. เทวทารุ : (ปุ.) เทพทารู เทพทาโร ชื่อพรรณ ไม้ชนิดหนึ่ง มีกลิ่นหอมคล้ายการบูร เปลือกหอมใช้ปรุงอาหารรากใช้ทำยาไทย วิ. เทวานํ ตรุภูตตฺตา เทวทารุ.
  36. เทฺวฬฺหก : (นปุ.) ความสงสัย วิ. เทฺวธา อิลติ จิตฺต เมเตนาติ เทฺวฬฺหกํ. ทฺวิปุพฺโพ. อิลฺ คติกมฺปเนสุ. โห, ลสฺส ฬคฺคํ. สกคฺเถ โก.
  37. เทวิตฺถี : (อิต.) นางอัปษร วิ. เทวานํ อิตฺถิโย เทวภูตา วา อิตฺถิโย เทวิตฺถิโย.
  38. ธญฺญมาส : (ปุ.) ธัญญามาส ชื่อมาตรานับ ๗ อูกาเป็น ๑ ธัญญมาส. ธญฺโญ วีหิ เยว ปริมาณิตพุพตฺตา มาโส จาติ ธญฺญมาโส.
  39. ธมฺมกมฺม : นป. การกระทำตามธรรม, การปฏิบัติตามกฏ
  40. ธมฺมกาย : (ปุ.) กองแห่งธรรม, หมวดแห่ง ธรรม, หมู่แห่งธรรม. ธมฺม+กาย. ธรรม กาย คือพระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้, ธมฺมก+อาย. การประกอบด้วยธรรม, กาย มีธรรม. ธมฺม+ยุตฺต+กาย.
  41. ธมฺมจกฺขุ : (วิ.) ผู้มีดวงตาเห็นธรรม.
  42. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  43. ธมฺมชาติ : (วิ.) มีตวามเกิดเป็นธรรมดา.
  44. ธมฺมมิลฺล : (ปุ.) ผมที่ถัก (ประกอบด้วยแก้วมุก ดาเป็นต้น) วิ. กุสุมคพฺภา เกสา เกสจูฬา มุตฺตาทินา พหิสํยตา สนฺตตา ธมฺมิลฺโลนาม. เอกโต กตฺวา ธรียติ พนฺธียตีติ ธมฺมิลโล. ธรฺ ธารเณ, อิโล, รสฺส มตฺตํ, ทฺวิตฺตํ, ลสฺส ลลตฺตํ จ. ฎีกาอภิฯ ไม่แปลง ล เป็น ลฺล จึงเป็น ธมฺมิล. ส. ธมฺมิลฺล.
  45. ธมฺมสเวค ธมฺมสเวช : (ปุ.) ความสลดใน ธรรม, ความสลดใจในธรรม, ความสลดโดยธรรม, ความสังเวชโดยธรรม, ธรรมสังเวช เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อ ท่านประสบอนิฏฐารมณ์ ท่านไม่หวั่นไหวไปตามอนิฏฐารมณ์นั้นๆ.
  46. ธมฺมสามิ ธมฺมสฺสามิ : (ปุ.) พระธรรมสามี เป็นพระนามของพระพทธเจ้าทั้งปวง วิ. ธมฺมสฺส สามิ ธมฺมสามิ. ธมฺมสฺส วา ปวตฺตกตฺตา ธมฺมสามิ ธมฺมสฺสสามิ วา.
  47. ธมฺมิก : (วิ.) ประกอบในธรรม, ตั้งอยู่ในธรรม, ทรงธรรม, เป็นไปในธรรม, เลื่อมใสในธรรม, ประพฤติธรรม, เป็นของมีอยู่แห่งธรรม. ณิก ปัจ. ตรัต์ยาทิตัท.
  48. ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
  49. ธีตุ : (อิต.) ลูกหญิง, ลูกสาว, ธิดา. วิ. มาตา ปิตูหิ ธรียเตติ ธีตา ธรฺ ธารเณ, ริตุ, อิ การสฺส ทีโฆ, ลบ ที่สุด ธาตุ และลบ รฺ ตัว ปัจ.
  50. ธุตฺตี, - ติกา : อิต. ดู ธุตฺต
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | [1401-1450] | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0785 sec)