Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 501-550
  1. ธชปตากา : อิต. ธงชัยและธงแผ่นผ้า
  2. ธมฺมคุตฺต : ค. ผู้อันธรรมคุ้มครองแล้ว, ผู้อันธรรมปกปักรักษาแล้ว
  3. ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนสุตฺต : (นปุ.) ธรรมจัก- กัปปวัตตนสูตร ชื่อพระสูตรซึ่งพระพุทธ- เจ้าทรงแสดงครั้งแรกแก่พระเบญจวรรคีย์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปฐมเทศนา.
  4. ธมฺมยุตฺต : (ปุ.) ธรรมยุต พระธรรมยุต (ผู้ประกอบด้วยความถูกต้อง) ชื่อพระสงฆ์ ฝ่ายเถรวาทนิกายหนึ่ง.
  5. ธมฺมสุธมฺมตา : อิต. ความวิเศษหรือความดีเด่นแห่งธรรม
  6. ธมฺมโสณฺฑตา : อิต. ความเป็นผู้ต้องการความเป็นธรรม
  7. ธวลตา : อิต. ความเป็นของขาวสะอาด
  8. ธาติ, - ตี : อิต. แม่นม, แม่เลี้ยง
  9. ธารณตา : (อิต.) ความเป็นแห่งความทรง, ฯลฯ.
  10. ธุตฺต, - ตก : ป. นักเลง, นักเลงสกา, คนโกง, คนล่อลวง
  11. ธุรตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่ย่อท้อต่อหน้าที่หรือการงาน
  12. ธุวตารา : (อิต.) ดาวเหนือ.
  13. ธูปายิต ธูปิต : (วิ.) เป็นควัน, กลุ้มเป็นควัน, อบควัน, รมควัน.
  14. ธูมเนตฺต : นป. กล้องสูบบุหรี่
  15. นชฺชนตร : (นปุ.) นัชชันดร ชื่อมหานทีที่ ๕.
  16. นตฺถิตา : อิต. ความเป็นคืออันไม่มี, ความไม่มี, ความไม่ปรากฏ
  17. นโภคต : ค. ขึ้นบนฟ้า, โผล่จากฟ้า
  18. นาคาปโลกิต : นป. การเหลียวดูของช้าง (คือกลับทั้งตัว), ลักษณะอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้า
  19. นานตฺตา : (อิต.) ความต่าง, ความต่างกัน.
  20. นานาจิตฺต : ค. มีจิตใจแตกต่างกัน, มีความคิดไม่เหมือนกัน
  21. นานาธิมุตฺติกตา : อิต. ความเป็นต่างๆ กันแห่งอัธยาศัย, ความต่างๆ กันแห่งความโน้มเอียง
  22. นิกฺกรุณตา : อิต. ความเป็นผู้ปราศจากความกรุณา, ความไม่มีความเอ็นดู
  23. นิเกตวาสี : ค. ผู้อาศัยอยู่ในบ้านหรือในสำนัก
  24. นิคฺคหณตา : อิต. การข่ม, การรั้ง, การหน่วงเหนี่ยว, การควบคุม
  25. นิจฺจตา : อิต. ความเป็นของเที่ยง, ความเป็นของแท้, ความเป็นของยั่งยืน, ความถาวร
  26. นิชฺชีวต : ค. ดู นิชฺชีว
  27. นิชิคึสนตา : อิต. ดู นิชิคึสน
  28. นิตฺตาเรติ : ก. ให้ข้าม, ให้พ้น, ให้ก้าวล่วง, ให้ผ่านไป
  29. นิทฺทารามตา : อิต. ความเป็นผู้ยินดีในการนอน, ความมักมากในการนอน
  30. นินฺนตา : อิต. ความต่ำ, ความเอียง, ความเท
  31. นินฺนหุตฺต : นป. มาตรานับจำนวนสูงเท่ากับ ๑๖,๐๐๐,๐๐๐๕ หรือ ๑ มีศูนย์ตามหลัง ๓๕ ตัว
  32. นินฺนิมิตฺต : (นปุ.) นินนิมิต (ไม่มีนิมิต) คือ ความประพฤติตามอำเภอใจ (ยทิจฺฉา).
  33. นิปฺเปสิกตา : อิต. การเล่นกล, อุบายโกง
  34. นิพฺพตฺตาปน : นป. การถอดแบบ, การถ่ายทอดเอาไว้, การสืบพันธุ์
  35. นิพฺพุสิตตฺตา : อิต. จิตที่ถูกกระทบ, จิตกวัดแกว่ง, จิตดิ้นรน
  36. นิภตา : อิต. ความเหมือนกัน, การสมดุลย์กัน; ความปรากฏ; หน้าตารูปร่าง
  37. นิมิตฺตคาหิ : (วิ.) ถือเอาโดยนิมิต (ได้ทั้ง สิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต).
  38. นิมิตฺตปาฐก : ป. คนทำนายนิมิต, โหร
  39. นิมิตฺตานุสารี : ค. ผู้ตามระลึกถึงนิมิต
  40. นิมิสตา : อิต. ดู นิมิส
  41. นิยุตฺต : ค. อันขวนขวายแล้ว, อันประกอบแล้ว, ผู้อัน...สั่งแล้ว
  42. นิราลยตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่มีที่อยู่อาศัย
  43. นิราสงฺกตา : อิต. ความเป็นผู้หมดความสงสัย, ความหมดความสงสัย, ความไม่สงสัย
  44. นิโรธธมฺมตา : อิต. ความเป็นสิ่งมีอันดับไปเป็นธรรมดา
  45. นิวากต : (นปุ.) มหรสพ (การกระทำคือแสดง ของคณะ). นิวห+กต แปลง ห เป็น อา.
  46. นิเวสิต : ค. ซึ่งตั้งมั่น, มั่นคง
  47. นีจกุลีนตา : อิต. ความเป็นผู้มีตระกูลต่ำ
  48. นุตฺต : กิต. ซัด, พุ่ง, ยิง
  49. เนรุตฺต : นป. ดู นิรุตฺติ
  50. ปกติจิตฺต : นป. จิตปกติ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | [501-550] | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0777 sec)