Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 1101-1150
  1. ฌาม : (ปุ.) การเผา. ฌาปฺ+ต ปัจ. แปลงเป็น ม ลบ ปฺ. ต ปัจ. ลงในภาวะ
  2. ญตฺต : (วิ.) ใกล้ วิ. ญายเตติ ญตฺตํ. ญา อวโพธเน, โต, รัสสะ แปลง ต เป็น ตฺต.
  3. ญาต : (วิ.) ผู้รู้ วิ. ชานาตีติ ญาโต. อันเขารู้ วิ. ญาตพฺพนฺติ ญาตํ ญาธาตุ ต ปัจ.
  4. ฐิต : (นปุ.) การหยุด, ฯลฯ, ความหยุด, ฯลฯ. ฐาธาตุ ต ปัจ. แปลง อา เป็น อิ.
  5. ตตฺถ ตตฺร : (อัพ. นิบาต) ใน...นั้น, ในที่นั้น วิ. ตสฺมึ ฐาเน ตตฺถ ตตฺร วา. ต ศัพท์ ตถฺ ตรฺ ปัจ.
  6. ตติย : (วิ.) ที่สาม, ครบสาม, คำรบสาม. วิ. ติณฺณํ ปูรโณ ตติโย. ติ ศัพท์ ติย ปัจ. ปูรณตัท แปลง ติ เป็น ต.
  7. ตโต : (อัพ. นิบาต) แล, เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วยเหตุนั้น, แต่นั้น, ในลำดับนั้น. ตโต อยู่ต้นข้อความแปลว่า ในลำดับนั้นอยู่ ในเลขใน แปลว่า ในภายหลัง ตโต อยู่ กับ ปฎฺฐาย เป็นต้น เป็นวิเสสสัพพนาม ( ต + โต ปัจ. ) ต้องเติม นามนาม เข้ามา.
  8. ตถาคต : (ปุ.) ท่านผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือไปตรงต่อความจริง, พระตถาคต เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ตโถ อาคโท เอตสฺสาติ ตถาโต (มีโวหารถูก ต้องหรือตรัสจริง) ตถ+อาคท แปลง ท เป็น ต หรือ ตถ แล อา+คมฺ+ต ปัจ. ลบ ที่สุดแห่งธาตุ. อภิฯ วิ. ยถา ปุริมกา สมฺพุทฺธา คตา ตถาคโตติ ตถาคโต. และ ชื่อว่า พระตถาคต เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ : ๑. ตถา อาคโตติ ตถาคโต. ๒. ตถา คโตติ ตถาคโต. ๓. ตถลกฺขณํ อาคโตติ ตถาคโต. ๔. ตถธมฺเมยาถาวโต อภิสมฺพุทฺโธติ คถาคโต. ๕. ตถทสฺสิตาย ตถาคโต. ๖. ตถวาทิตาย ตถาคโต. ๗. ตถาการิตาย ตถาคโต. ๘. อภิภวนฏฺเฐน ตถาคโต.
  9. ตทตฺถ : (อัพ. นิบาต) ความพยายามเพื่อประ – โยชน์แก่สิ่งนั้น วิ. ตสฺส อตฺถาย ตทตฺโถ (วายาโม). การทำเพื่อประโยชน์แก่สิ่งนั้น. ตทตฺถา (ภาวนา). จ.ตัป. รูปฯ ๓๓๖. ท หลัง ต ทั้ง ๕ ศัพท์นั้น คือ ทฺ อาคม.
  10. ตทห : (นปุ.) วันนั้น. ต+อห ทฺ อาคม.
  11. ตห ตหึ : (อัพ. นิบาต) ใน.... นั้น. ต+หํ‚ หึ ปัจ.
  12. ตาณ : (วิ.) ต่อต้าน, ต้านทาน, ป้องกัน, เลี้ยง, รักษา. ตา ปาลเน, ยุ. แปลง น ซึ่งแปลง มาจาก ยุ เป็น ณ.
  13. ตาป : (ปุ.) ความเจ็บ, ความรำคาญ, ความร้อน, ความเดือดร้อน, ความเร่าร้อน, ความแผดเผา. ตปฺ สนฺตาเป. โณ, อถวา, ธุปฺ สนฺตาเป. แปลง อุ เป็น อ ธ เป็น ต. ส. ตาป.
  14. ตาวตก : (วิ.) มีประมาณเพียงนั้น, ฯลฯ. วิ. ตํ อิว ปริมาณ มสฺส ตาวตกํ ต+อาวตก ปัจ. รูปฯ ๖๓๙ วิ. ตํ ปริมาณ มสฺสาติ ตาวตกํ.
  15. ตาฬ : (ปุ.) ตาฬ, ฯลฯ. ดู ตาล. ตา ปาลเน, อโฬ. ตฬ. ปติฏฐายํ, โณ.
  16. ตินฺตืณี : (อิต.) มะขาม. วิ. อมพิรสํ ตโนตีติ ตินฺติณี. ตนุ วิตฺถาเร, อ. เทว๎ภาวะ ต เอา อ ที ต เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคม แปลง น เป็น ณ อี อิต.
  17. ตินีส : (ปุ.) ไม้เต็ง, ไม้อุโลก. วิ. รถํ ตโนติ เยนโส ตินีโส. ตนุ วิตฺถาเร, อีโส. แปลง อ ที่ ต เป็น อิ.
  18. ตีร : (นปุ.) ท่าน้ำ,ฝั่ง,ตลิ่ง,เตียร,เดียร,วิ. ชลํ ตายตีติ ตีรํ. ตา ปาลเน, โร, อาสฺสี. ตีรฺ กมฺมสามตฺถิเย, อ. เป็น ติร บ้าง . ส ตีร.
  19. ตุรุกฺข : (ปุ.) มดยอบ, กำยาน, วิ. ตุรโต ชาโต ตุรุกฺโข. ตรุ ศัพท์ ข ปัจ. แปลง อ ที่ ต เป็น อุ ซ้อน ก.
  20. โตย : (นปุ.) น้ำ. วิ. ตายเตติ โตยํ. ตา ปาลเน, โย, อาการสฺส โอตฺตํ. ส. โตย.
  21. ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  22. ทกฺขิณา : (อิต.) ทักขิณา ทักษิณา ชื่อทาน อันบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมแล้ว จึงให้ กมฺมผลํ สทฺทหิตฺวา ทาตพฺพทานํ ทกฺขิณา ชื่อทานเพื่อผลอันเลิศ ชื่อทาน สมบัติอันเจริญ ชื่อทานอันทายกทายิกา บำเพ็ญอุทิศผลให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว, ของ ทำบุญ, ใต้, ทิศใต้, เบื้องขวา, ทางขวา, ข้างขวา, ด้านขวา, ด้านใต้. วิ. ทกฺขนฺติ โภคสมฺปทาทีหิ ยาย สา ทกฺขิณา. ทกฺขฺ วุฑฺฒิยํ, อิโณ. เวสฯ ๔๕๔ วิ. ทกฺขนฺติ วหนกมฺเม อทนฺธตาย สิงฺฆํ คจฺฉนฺตีติ ทักขิณา. ต ปัจ. แปลงเป็น อีณ รัสสะ. ส. ทกฺษิณา.
  23. ทนฺตจฺฉท ทนฺตจฺฉต : (ปุ.) ริมฝีปาก. ทนฺตปุพฺโพ, ฉทฺ สํวรเณ, อ, จสํโยโค, ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ต. ส. ทนฺตจฺฉท.
  24. ทนฺตช : (ปุ. นปุ.) อักขระเกิดแต่ฟัน, ทันตชะ ที่เกิดของพยัญชนะ คือ ต ถ ท ธ น ล ส.
  25. ทฺวตฺตีสมหาปุริสลกฺขณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับเฉพาะแล้วด้วยลักษณะของมหาบุรุษสามสิบสองประการ (คำประการเป็นคำเหน็บเข้ามา). เป็น ต. ตัป. มี วิเสสน บุพ. กัม, ฉ. ตัป และ ส. ทิคุ. เป็นภายใน.
  26. ทิฏฺฐ : (ปุ.) ความยินดี, ความพอใจล ความแช่มชื่น. ตุสฺ ตุฎฺฐยํ, โต. แปลง ต เป็น ฎฺฐ ลบ สฺ แปลง อุ เป็น อิ แปลง ตฺ เป็น ทฺ.
  27. ทิทฺธ : (วิ.) ฉาบ, ทา, ไล้. ทิหํ อุปเลปเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  28. ทิยฑฺฒโยชนสติกมคฺค : (ปุ.) ทางอัน ประกอบแล้วด้วยร้อยแห่งโยขนืที่สองทั้ง กึ่ง, ทางอันประกอบด้วยร้อยห้าสิบโยชน์, ทางหนึ่งร้อยห้าสิบโยชน์. เป็น วิเสสน-บุพ. กัม มี ฉ. ตัป., วิเสสหบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  29. ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
  30. ทุกฺกต : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, การทำ ชั่ว, ฯลฯ. วิ. นินฺทิตํ กรณ มสฺส ทุกกตํ. คำแปลแรก ต ปัจ. กิริยากิตก์ คำแปล หลังๆ เป็น ต ปัจ. ลง ภาวะ.
  31. ทุทฺธ : (นปุ.) นม, นมสดง วิ. ทุยฺหเตติ ทุทฺธํ. ทุหฺ ปปูรเณ, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ ที่สุดธาตุ.
  32. ธมฺมทินฺน : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งธรรม, ผู้ให้ซึ่งความรู้, ผู้ให้ธรรม, ผู้ให้ความรู้. วิ. ธมฺมํ ททาตีติ ธมฺมทินโน. ธมฺม+ทา+ตปัจ. แปลง ต เป็น อินฺน รูปฯ ๕๙๓.
  33. นทีปูร : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องรัด, เชือกเป็น เครื่องผูก, เชือก, เ ชือกหนัง, ชะเนาะ (ไม้กับเชือกที่ขันบิดให้แน่น). นหฺ พนฺธเน, โต, แปลง ต. เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ อิอาคม.
  34. นวสปฺปิสงฺขตขีรยาคุ : (อิต.) ข้าวยาคูอัน บุคคลต้มแล้วด้วยน้ำนมอันปรุงแล้วด้วย เนยใสใหม่. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ต ตัป., วิเสสนบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  35. นิพฺพุทฺธ : (นปุ.) การชกกัน วิ. อโธภาคํ พนฺธนํ วา กตฺวา ยุชฺฌนฺตฺยเตฺรติ นิพฺพุทฺธํ. นิปุพฺโพ, ยุธฺ สมฺปหาเร, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ แปลง ยุ เป็น พุ. อญญมญญสฺส เวธํ นิพฺเพเธฺนฺตฺยเตฺรติ วา นิพฺพุทฺธํ เวธฺ เวธเน โต, เอสฺสุ.
  36. ปนฺต : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, สงัด.ปปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบที่สุดธาตุ.
  37. ปมาตุ : (อิต.) มารดาของมารดา, แม่ของแม่, ยาย. มาตุ + มาตุ ลบ ต ศัพท์หน้า รัสสะ อา เป็น อ แปลง ม เป็น ป.
  38. ปรปุฏฺ : (ปุ.) นกกระเหว่า ชื่อนกผู้อันนกกา ฟักจนคลอดจากไข่เลี้ยงไว้ ( ระยะที่ยังบิน ออกไปไม่ได้ ). วิ. ปเรน วิชาติเยนกาเกน โปสิโตติ ปรปุฏฺโฐ. ปรปุพฺโพ, ปุสฺโปสเน, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบที่สุดธาตุ.
  39. ปริณต ปรินต : (วิ.) น้อมไปโดยรอบ, แปรไป, เปลี่ยนแปลง, คร่ำคร่า, แก่, แก่จัด, แก่เฒ่า, ปริ+นมฺ+ต ปัจ. ลบที่สุดธาตุ ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  40. ปริตฺตาณ : (นปุ.) พุทธมนต์เป็นเครื่องต้านทาน, ความต้านทาน, ความป้องกัน, ความรักษา, ความรักษาโดยรอบ, พุทธมนต์เป็นเครื่อง รักษาโดยรอบ ( ทุกด้าน ). ปริ+ ตา+ณ ปัจ. ไม่ลบ ณ หรือลง ยุ ปัจ. แปลงเป็น อน แปลง น เป็น ณ ซ้อน ตฺ.
  41. ปริเทวิต : (ปุ.) การร้องไห้, ฯลฯ, ความร้องไห้ ฯลฯ. ต ปัจ. อิอาคม.
  42. ปุพฺพการี : (ปุ.) บุคคลผู้ทำก่อนโดยปกติ,ฯลฯ, บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน, บุพพการี บุคคล. ในกฏหมาย คำบุพการี หมายถึง บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด (ทั้งสองฝ่าย). ในทางพุทธศาสนาหมาย ความกว้างกว่านี้ มีอธิบายในบุคคลหาได้ยาก ๒.
  43. ปูฏ : (วิ.) ฉลาด, แจ้ง, ชำระ, ล้าง, สะอาด, บริสุทธิ์. ปุ ปวเน, โฏ, ทีโฆ จ. หรือ ต ปัจ. แปลงเป็น ฏ.
  44. ปูติก : (ปุ.) กระพังโหม, อเนกคุณ, บอระเพ็ด? ปุ ปวเน, อิโก, โตนฺโต จ (ลง ต ที่สุดธาตุ).
  45. โปกฺขรสาตก : (ปุ.) นกดอกบัว, นกกวัก, นกนางนวล, นกกระทุง, นกกะลิง. วิ. โปกฺขรสฺส สญฺญา ยสฺส โส โปกฺขร-สาตโก. แปลง ญ ตัวหน้าเป็น ต ตัวหนังเป็น ก และทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา.
  46. พทฺธ : (ปุ.) บ่วง. พนฺธฺ พนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ นฺธฺ.
  47. พทฺธา : (อิต.) การตี, การประหาร, การทำให้ปั่นป่วน, การเบียดเบียน, ความหยิ่ง. พาธฺ วิโลลเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ ธฺ รัสสะ อา เป็น อ.
  48. พฺยตฺต : (วิ.) ผู้เป็นไปวิเศษ, ปรีชา, ฉลาด, เฉียบแหลม, แจ้ง แจ่มแจ้ง. วิเสส+อทฺ ธาตุในความเป็นไป ต ปัจ.
  49. พฺยนฺตีกรณ : (นปุ.) การทำให้สิ้นสุด. พฺยนฺต+กรณ อี อาคม หรือแปลง อ ที่ ต เป็น อี.
  50. พลิปุฏฺฐ : (ปุ.) กา, นกกา. วิ. พลินา ปุฏฺโฐ ภโต แปลง ตฺ เป็น ฏฺฐ ลบ สฺ หรือแปลง ต กับ สฺ เป็น ฏฺฐ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | [1101-1150] | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0862 sec)