Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 1351-1400
  1. ชนฺตาฆร : (นปุ.) เรือนเป็นที่รักษาซึ่งชน ผู้ ผจญซึ่งไพรีคือโรค, เรือนไฟ โรงไฟ (ห้องสำหรับรมไฟเพื่อให้เหงื่อออก). วิ. ชนฺตา เอว ฆรํ ชนฺตาฆรํ.
  2. ชนฺตุ : (ปุ.) สัตว์, สัตว์เกิด. วิ. ชายตีติ ชนฺตุ. ชนียเต กมฺมกิเลเสหีติ วา ชนฺตุ. ชายติ วา กมฺมกิเลเสหีติ ชนฺตุ. อรรถกถากุลาวก ชาดก ว่า ชนฺตูติ สตฺโต แปลว่า บุคคล คนดังคำในมหาฎีกามหาสุตตโสมชาดก ว่า ชนฺตูติ ปุคฺคโล.
  3. ชเนตฺติก : (ปุ.) แปลเหมือน ชนก. ชนฺ ธาตุ เณ ปัจ. เหตุ ติ ปัจ. ซ้อน ตฺ ก สกัด.
  4. ชาติย : (วิ.) เกิดแล้วโดยชาติ วิ. ชาติยา ชาโต ชาติโย. อิยปัจ. ชาตาทิตัท.
  5. ชาลินี : (อิต.) ตัณหา. ตัณหามีข่าย, ตัณหาเพียง ดังข่าย. วิ. สํสารโต นิสฺสริตํ อปฺปทาน- วเสน ชาลสทิสตฺตา ชาลินี. ชาลศัพท์ อินี ปัจ ลงใน อุปมา.
  6. ชิวฺหา : (อิต.) ลิ้น ( อวัยวะสำหรับลิ้มรส ) วิ. ชีวนฺติ เอตายาติ ชิวฺหา. ชีวิตนิมิตฺตํ รโส ชีวิตํ นาม, ตํ อวฺหยตีติ วา ชิวฺหา. ชีวฺ ปาณธารเณ, โห, รสฺสตฺตํ. ส. ชิวฺหา.
  7. ชีวนี ชีวนฺตี : (อิต.) เทียนเยาวพาณี วิ. ชีวนฺติ เอตายาติ ชีวนี ชีวนฺตี วา. ชีวฺ+ยุ, อนฺต ปัจ. อี อิต.
  8. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  9. เชตุตฺตร : (นปุ.) เชตุดร ชื่อนครพิเศษ ๑ ใน ๒0 ของอินเดียโบราณ. วิ. เจติยรรฏฺเฐ อุตฺตมตฺตา เชตุตฺตรํ. แปลง จ เป็น ช ม เป็น ร. เวริชยฏฺฐานตฺตา เชตพฺพํ จ ตํ อุตฺตมตฺตา อุตฺตรํ จาติ วา เชตุตฺรํ. เป็น เจตุตฺตร บ้าง.
  10. โชติสตฺถ : (นปุ.) ตำราดาว, โชติศาสตร์ ชื่อ วิธีเรียนเวทอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง ให้รู้จัก ดาว หาฤกษ์ และผูกดวงชตา.
  11. ฌลิ : (นปุ.) ลูกอารกานัต, ลูกอเรกานัต ?
  12. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  13. ญาณจกฺขุ : (นปุ.) ญาณจักขุได้แก่อรหัตต – มัคคญาณ.
  14. ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
  15. ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ : (อิต.) ความบริสุทธิ์แห่ง ความรู้และการเห็นพระนิพพาน (เหมือน เห็นด้วยตาเนื้อ), ปัญญาที่บริสุทธิ์แห่ง ญาณทัสสนะได้แก่ญาณในอริยมรรคทั้ง ๔.
  16. ตกฺก : (ปุ.) ความตริ, ความตรึก, ความคิด, ความนึก, ความวิตก (ตรึก). วิ. ตกฺเกติ สมฺปยุตฺตธมฺเม อารมฺมณมฺหิ โรเปตีติ ตกฺโก. ตกฺกฺ วิตกฺเก, อ.
  17. ตกฺกร : (ปุ.) โจร. ขโมย. วิ. ตํ กโรตีติ ตกฺกโร. ตปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ. เถยฺยตฺถํ วา ตกฺกยตีติ ตกฺกโร. ตกฺก วิตกฺเก, อโร.
  18. ตจปญฺจก : นป. (กรรมฐาน) มีหนังเป็นที่ห้าคือ เกสา, โลมา, นขา, ทนฺตา, ตโจ
  19. ตณหา : (อิต.) นางตัณหา ชื่อธิดามาร ๑ ใน ๓ คน วิ. โย ตํ ปสฺสติ ตํ ตสิตํ กโรตีติ ตณฺหา. ตสฺ นิปาสายํ ณฺห สโลโป, อิตฺถิยํ อา.
  20. ตตฺต : (ปุ.) แดด. ตปฺ ทาเห, โต. แปลง ปฺ เป็น ตฺ
  21. ตนฺตุ : (ปุ.) ด้าย, เส้นด้าย. อภิฯ วิ. ตญฺญเตติ ตนฺตุ. รูปฯ ๖๖๕ วิ. ตโนตีติ ตนฺตุ. ตนุ วิตฺถาเร, ตุ.
  22. ตนุ : (อิต.) กาย, ร่างกาย, ตน, หนัง. วิ.ตโนติ สํสารทุกฺขนฺติ ตนุ. ตนุ วิตถาเร, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ไทยใช้ ดนุ เป็นสัพพนามแทนผู้พูด. ฉันข้าพเจ้าฯลฯ.
  23. ตป : (ปุ.) ความเพียร เครื่องเผากิเลส, คุณ ธรรมอันยังกิเลสให้ร้อน, คุณธรรมอันยัง กิเลสให้เร่าร้อน (แห้ง), ความร้อน, ความสำรวม, ความเพียร, ธรรม, วัตร, พรต (ธรรมมีศีลเป็นต้น ความบำเพ็ญพรตเผา กิเลส), ศีล, ตบะ. วิ. กิเลเส ตาเปตีติ ตโป. ตปฺ ทาเห สนฺตาเป วา, อ. ส. ตปสฺ.
  24. ตปนีย : (นปุ.) ทอง, ทองคำ. วิ. ตปนํ ทาห ทหรตีติ ตปนียํ. ตปนศัพท์ อนีย ปัจ. ลบ น ท้ายศัพท์.
  25. ตร : (ปุ.) แพ วิ. ตรติ อเนนาติ ตโร. ตรฺ ตรเณ, อ.
  26. ตรงฺค : (ปุ.) ระลอกคลื่น ลูกคลื่น (กลิ้งไป). วิ. ตรนฺโต คจฺฉตีติ ตรงฺโค. ตีรํ คจฺฉตีติ วา ตรงฺโค. ตีร+คมฺ+กฺวิ ปัจ. แปลง อี เป็น อ.
  27. ตรณี : (อิต.) เรือ, สำเถา, กำปั่น, แพ. วิ. ตรนฺติ ยาย สา ตรณี. อี อิต. รูปฯ ๖๖๓. ลง อิ ปัจ. ได้รูปเป็น ตรณิ.
  28. ตรุ : (ปุ.) ต้นไม้, กอไม้. วิ. ตรนฺติ อเนนาติ ตรุ. ตรฺ ตรเณ, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่มีฆะ.
  29. ตสร : (ปุ.) หลอด, การพัฏหลอด, ( พัฏ แผลง มาจาก วัฏ), กระสวย, กระสวยทอผ้า. วิ. ตสติ ถยํ คณฺหาตีติ ตสโร. ตสฺ อุพฺเพเค, อโร. การทอผ้า หูก ก็แปล. ส. ตรฺสร.
  30. ตาต : (อาลปนะ) ใช้เป็นคำเรียก แปลว่า พ่อ ( ไม่ใช่พ่อผู้ให้กำเนิดลูก ) เป็นคำสุภาพ ใช้เรียกได้ทั่วไป เอก. เป็น ตาต พหุ เป็น ตาตา.
  31. ตาปิญฺช : (ปุ.) เต่าร้าง, หมาก, คูน. วิ. ตาปิยํ ชายตีติ ตาปิญฺโช. อญฺญตฺเถ โช , พินฺทฺวาคโม. ฏีกาอภิฯ เป็น ตาปิญฺฉ. อญฺญตฺเถ โฉ.
  32. ตามฺพูล : (ปุ.) พลู วิ. ตมฺพวณฺณํ ลาตีติ ตามพูสี. อถวา, มุขํ ตเมตีติ ตมฺพูลํ ตมฺ ภูสเน, พูโล. ตมฺพูลสฺส อยํ ตามฺพูลี. ส. ตมฺพูล หมาก.
  33. ตามพูลี : (อิต.) พลู วิ. ตมฺพวณฺณํ ลาตีติ ตามพูสี. อถวา, มุขํ ตเมตีติ ตมฺพูลํ ตมฺ ภูสเน, พูโล. ตมฺพูลสฺส อยํ ตามฺพูลี. ส. ตมฺพูล หมาก.
  34. ตายน : (นปุ.) การสืบต่อ, การติดต่อ, การเลี้ยง, การเลี้ยงดู, การระวัง. การป้องกัน การรักษา, ความสืบต่อ, ฯลฯ. ตายุ สนฺตานปาลเนสุ, ยุ.
  35. ตาล : (ปุ.) ตาล, ต้นตาล, โตนด ต้นโตนด (ต้นตาล). สมอพิเภก, กำมะถันเหลือง, ต้นปาล์ม, ตาละ ชื่อผักชนิดหนึ่ง, ดาล ชื่อกลอนประตู ซึ่งทำด้วยไม้ สำหรับขัด บานประตูที่มีไม้บากเท่าลูกตาล ติดไว้กึ่ง กลางบานประตูด้านในทั้งสองข้าง, ลูกดาล คือเหล็กสำหรับไขบานประตู, กุญแจ, สลัก, กลอน, เข็มขัด, หมุด, ฉิ่ง, ฉาบ, ดินหอม, ง้วนดิน, ที่นั่งของทุรคา. ตลฺ ปติฏฐายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. ตาล.
  36. ตาลวณฺฏ : (นปุ.) พัด ( เครื่องโบก หรือ กระพือลม ), พัดใบตาล. ตาลวณฺเฏหิ กตฺตตา ตาลวณฺฏํ.
  37. ตาลุ : (ปุ.) เพดาน, เพดาลปาก. วิ. ตลนฺติ เอตฺถ ทนฺตาติ ตาลุ ( เป็นที่ตั้งแห่งฟัน). ตลฺ ปติฏฺฐายํ ณุ. รูปฯ ๖๓๕ ตั้ง ตรฺ ตรเณ, ณุ. แปลง ร เป็น ล. ส. ตาลุ.
  38. ติกิจฺฉน : (นปุ.) การเยียวยา, การรักษา, การพยาบาล. กิตฺ โรคาปยเน, โฉ, ยุ. เทว๎ภาวะ กิ. แปลง กิ เป็น ติ แปลง ตฺ เป็น จฺ ศัพท์หลังลง ฉ ปัจ. ตัวเดียว ไม่ต้อง ลง ยุ ปัจ.
  39. ติกิจฺฉา : (อิต.) การเยียวยา, การรักษา, การพยาบาล. กิตฺ โรคาปยเน, โฉ, ยุ. เทว๎ภาวะ กิ. แปลง กิ เป็น ติ แปลง ตฺ เป็น จฺ ศัพท์หลังลง ฉ ปัจ. ตัวเดียว ไม่ต้อง ลง ยุ ปัจ.
  40. ติตฺถ : (นปุ.) ท่า, ท่าน้ำ, ท่าเป็นที่ข้าม, ท่า ข้าม, ทิฏฐิ คือความเห็นนอกพุทธศาสนา, ลัทธิ ( นอกพุทธศาสนา), อุบาย ( เหตุ ), น้ำศักดิ์สิทธิ์. ตรฺ ปฺลวนตรเณสุ, โถ, อสฺส อิตฺตํ, ทฺวิตฺตํ ( แปลง ถ เป็น ตฺถ), รโลโป. หรือแปลง รฺ เป็น ตฺ ก็ไม่ต้องแปลง ถ เป็น ตฺถ. ส. ตีรถ.
  41. ติทส : (ปุ.) เทวดามีชายสาม (ชายผ้า), เทวดามีชายผ้าสาม, ติทสา ชื่อของเทวดา ชื่อที่ ๑ ใน ๑๔ ชื่อใช้เป็นพหุ. ทั้ง ๑๔ ชื่อ, เทวดา. ดูอภิฯคาถาที่๑๑และ๑๒. ติ+ทสา (ชาย ชายผ้า). วิ. ชาติสตฺตาวินาสสํขาตา ติสฺโส ทสา ปริมาณา เอเตสนฺติ ติทสา.
  42. ติปฺป ติพฺพ : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, ( มากยิ่ง ยิ่งนัก), ทึบ ( ป่า....) วิ. ตรติ อติกฺกมตีติ ติปฺปํ ติพฺพํ วา. ตรฺ ตรเณ อ. แปลง อ เป็น อิ ร เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์ หน้าแปลง พ เป็น ป ซ้อน ปฺ.
  43. ติปุ : (ปุ.) กาฬโลหะ, ดีบุก, ตะกั่วนม, เหล็กวิลาส. ติปฺ ปีฬเน, อุ. ตปฺ สนฺตาเป วา. อุ, อสฺสิตฺตํ. วิ. ตาปิยตีติ ติปุ. ส. ตฺรปุ ตฺรปุส.
  44. ติปุฏา : (อิต.) จิงจ้อ ชื่อไม้เถาในสกุลผักทอด ยอดมีหลายชนิด ใช้ทำยาไทย. วิ. ติสฺโส ปุฏา ตจราชิโย อสฺสาติ ติปุฏา.
  45. ติรจฺฉ ติรจฺฉาน : (วิ.) เดือนมืด, คืนเดือน มืด. วิ. ติมิสํ อุสฺสนฺนํ เอตถาติ ติมิสิกา ติมีสิกา วา.
  46. ติโรกรณี : (อิต.) ผ้าม่าน วิ. ติโร กรียติ ปถียติ ยาย สา ติโรกรณี. เวสฯ ๕๐๖ วิ. ติโร กโรนฺติ เอตายาติ ติโรกรณี.
  47. ติลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอันเป็นเครื่อง กำหนดสาม, ลักษณะสำหรับพิจารณา สาม, ลักษณะสาม, ไตรลักษณะ, ไตร- ลักษณ์ คือลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไปแก่ สังขาร ทั้งหลายมี ๓ คือ อนิจฺจตา ทุกขฺตา อนตฺตตา. ส. ตฺริลกฺษณ ไตฺรลกฺษณฺ.
  48. ติลปณฺณี : (ปุ.) จันทน์แดง วิ. ติลปฺปมาณ- ปณฺณยุตฺตตาย ติลปณฺณี.
  49. ตุลา : (อิต.) ขื่อ, เสาขื่อ, ไม้ขื่อ, รอด, เสาดั้ง. วิ. ตุลยติ สํฆาเฏสุ ปติฏฐาตีติ ตุลา. ตุลฺ ปติฏฐายํ, อ, อสฺสุตฺตํ. ปกฺขานํ สมตาหิต ภาวกรณโต ตุลยติ เอตายาติ วา ตุลา. ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  50. เตจีวริก : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งไตรจีวรเป็นวัตร. โมคฯ ณาทิกัณฆ์ ๗๒ วิ. ติจีวรธารณํ สีลมสฺสาติ เตจีวริโก (ภิกฺขุ). รูปฯ ๓๖๐ วิ. ติจีวรธารณํ ตีจีวรํ. ตํ สีล มสฺสาติ เตจีวริโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | [1351-1400] | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0691 sec)