Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 1701-1750
  1. อนุป : (ปุ.) ประเทศอันชุ่มชื้นด้วยน้ำวิ. อนุคตาอาปาอเตฺรติอนุโป.บางมติว่า เป็นไตรลิงค์.ส.อนุป.
  2. อนุปายินี : (วิ.) อันไปตามโดยปกติวิ.อนุปยติสีเลนาติอนุปายินี.อนุปุพฺโพ, ปยฺคมเน, ณี, อิตฺถิยํอินี.มีอันเป็นไปตามเป็นปกติวิ.อนุปายิตํสีลมสฺสาติอนุปายินี.มีปกติไปตามวิ.อนุปายสีโลติอนุปายินี.
  3. อนุภูต : ค. ดู อนุภุตฺต
  4. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  5. อปงฺค : ป. ขอบตานอก, หางตา
  6. อปฺปงฺก : (ปุ.) หางตา, ลายเขียน.
  7. อปฺปฏิวานี (ณี) : อิต. ดู อปฺปฏิวานิตา
  8. อปฺปนา : (อิต.) ความแนบแน่น, วิ.อปฺเปติสมฺปยุตฺตธมฺเมปาเปตฺยารมฺมณนฺติอปฺปนาอปฺปาปุณเน, ยุ, ทฺวิตฺตํ.
  9. อปฺปวตฺติ : อิต. ดู อปฺปวตฺตา
  10. อปมงฺคล : (วิ.) มีมงคลไปปราศแล้ว, ปราศจากมงคล, ไม่มีมงคล, ไม่เป็นมงคล, อัป-มงคล (เป็นลางร้าย ไม่เจริญ ไม่เจริญตา).ส.อปมงฺคล
  11. อปางฺค : (ปุ.) ดิลก (รอยเจิมที่หน้าผาก), ไฝ, ที่สุดแห่งตา, หางตา.วิ.สรีรงฺคสํขาตสฺสกณฺณสฺสอปสมีปํอปางฺโคส.อปางฺค.
  12. อปายงฺค : ป. หางตา, ขอบตานอก
  13. อปุตฺตกเสฏฐิวตฺถุ : (นปุ.) เรื่องของเศรษฐีผู้ไม่มีบุตรมีวิ.ตามลำดับดังนี้-นปุพ.พหุพ.นตฺถิตสฺสปุตฺตาติอปุตฺตโกกสกัด.วิเสสนบุพ.กัม.อปุตฺตโก จ โสเสฏฺฐีจาติอปุตฺตกเสฏฺฐี.
  14. อพพ : (นปุ.) อพพะชื่อมาตรานับเท่ากับแสนคูณด้วยร้อย.อวฺรกฺขเณ, โว, พการาเทโส, พฺสํโยโค.สตฺตสตฺตติพินฺทุสหิตาเอกา เลขาอพพํ.
  15. อพฺพุท : (นปุ.) อัพพุทะชื่อสังขยาจำนวนหนึ่งคือร้อยแสนพินทุเป็น ๑ อัพพุทะหรือโกฏิมีกำลัง ๘.อพฺพฺหึสาคติมฺหิ, โท, อสฺสุ(แปลงอเป็นอุ).ฉปฺปณฺญาสพินฺทุสหิตาเอกาเลขาอพฺพุทํ.
  16. อพฺภตฺถ : นป. อพฺภตฺถตา, อิต. ความฉิบหาย, ความตั้งอยู่ไม่ได้
  17. อพฺยาเสก : ค. อันเจริญตาเจริญใจ, มีเสน่ห์
  18. อภิสมย : (ปุ.) การถึงพร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้-พร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้, การตรัสรู้ซึ่งธรรมการบรรลุ, การบรรลุธรรม, การละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง, ความถึงพร้อมเฉพาะ, ฯลฯ, คราวอันยิ่ง, กาลอันยิ่ง.อภิสํปุพฺโพ, อยฺ อิวา คมเน, อ. ตรัสรู้ได้ด้วยอะไร?ตรัสรู้ได้ด้วยจิตที่เป็นปัจจุบันและด้วยญาณในขณะโลกุตตรมรรค.ไตร.๓๑/๖๐๒.
  19. อมรวตีอมราวตี : (อิต.) อมรวดีอมราวดีชื่อเมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง.วิ.อมราเอกทิวสํสนฺตีติอมรวตี.สาเอวอมราวตี.รสฺสสฺสทีฆตา (ทีฆะรัสสะเป็นอา).
  20. อมรวตี อมราวตี : (อิต.) อมรวดี อมราวดี ชื่อ เมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง. วิ. อมรา เอกทิวสํ สนฺตีติ อมรวตี. สา เอว อมราวตี. รสฺสสฺส ทีฆตา (ทีฆะรัสสะ เป็น อา).
  21. อมุตร : (อัพ. นิบาต) ภพอื่น, ภพหน้า, ภายหน้าข้างหน้า, ข้างโน้น.เป็นภวันตรัตถวาจก-นิบาต.ในที่อื่น, ฯลฯ, ในที่โน้นเป็นนิบาตลงในอรรถสัตตมี.
  22. อยฺยก : (ปุ.) ตา, ปู่. อรหฺปูชายํ, ณฺวุ, รหสฺสโย(แปลงรหเป็นย). อยฺคติมฺหิวา. ซ้อน ยฺ.
  23. อราติ : (ปุ.) ข้าศึก.ศัตรู.อรฺคมเน, ติ.ภูวาทิตฺตาอาอาคโม.
  24. อริฏฺฐ : (ปุ.) ประคำดีควายชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาไทยมะคำดีควายก็เรียก.หตชนฺตุปโมหสํขาตาริผลตายอริฏฺโฐ.ตํโรคาริวนฺตชเนหิอิจฉิตพฺพผลตฺตาวาอริฏฺโฐ.สะเดาก็แปล.
  25. อรูปธมฺม : (ปุ.) ธรรมมิใช่รูป, ธรรมที่ไม่มีรูป, อรูปธรรม, นามธรรม (ภาวะที่สัมผัสด้วยอายตนะคือ ตาหูจมูกลิ้นและกายไม่ได้สัมผัสสะได้แต่ใจ).
  26. อวสฺสุต : (วิ.) ชุ่ม, เปียก.อวปุพฺโพ, สุปสเว, โต.สุทฺ ปคฺฆรเณ, อ. แปลงทเป็นตซ้อนสฺ.
  27. อวาปูรณ : (นปุ.) ลูกกุญแจ, ลูกตาล, เครื่องบิด, เครื่องเปิด, เครื่องไข.วิ. อวาปูรติวิวรติทฺวารํ เอเตนาติ อวาปูรณํ.อวปุพฺโพ, ปุรฺสํวรเณ, ยุ.อถวา, วุสํวรเณ, ยุ, วสฺสโป, อุปสคฺคสฺสทีฆตา, อุการสฺสทีฆตา, รฺอาคโม.สัททนีติวางอว อาเป็นบทหน้าเป็นอวาปุรณบ้าง.
  28. อวิทูร : (วิ.) ไม่ไกล, ใกล้.ทูรปฏิปกฺขตฺตาอวิทูรํ.
  29. อสงฺเขยฺย : (นปุ.) อสงไชยชื่อมาตรานับขั้นสูงสุด. วิ.อสฺขฺยาตุอสกฺกุเณยฺยตายอสงฺเขยฺยํ(วัตถุอันบุคคลไม่พึงนับ นับไม่ได้).นสํปุพฺโพ, ขฺยาปกถเน, โณฺย.เอาอาเป็นเอ.อภิฯตั้งขาธาตุเณยฺยปัจ.ส.อสํขย.
  30. อสฺสกณฺณ : (ปุ.) อัสสกัณณะชื่อภูเขาลูก๑ใน๗ลูกเป็นลูกที่๗ทั้ง๗ลูกนี้ล้อมเขาสุเมรุจึงเรียกว่า สัตตปริภัณฑ์.
  31. อสิเลสา : (อิต.) อสิเสลาชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่๙ใน๒๗ กลุ่มมีห้าดวง, ดาวเรือน.วิ.ภุชคสทิสตฺตา น สิลิสฺสเต น อาลิงฺคยํเตติอสิเลสา.ปญฺจตาราจกฺกาการาอสิเลสา.
  32. อสุสุชล : (นปุ.) น้ำของตา, น้ำอันไหลออกจากตา, น้ำตา.ส. อสฺรุ.
  33. อเสจน : (วิ.) ยังปิติแห่งจิตและนัยน์ตาให้เกิด, ชื่นใจ, ชื่นตา, หน้าตาชื่นบาน, หน้าตาเบิกบาน, ยั่วยวน.จิตฺตสฺสอกฺขิโนจปิติชนกํวตฺถุอเสจนํนาม.
  34. อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
  35. อากฺขฺยาอาขฺยา : (อิต.) นาม, ชื่อ. วิ.อาขฺยายเตเอตายาติอากฺขฺยาอาขฺยาวา.อาปุพฺโพ, ขฺยา ปกถเน, อ.อภิฯลงกฺวิ ปัจ.ศัพท์ต้นซ้อนกฺ.
  36. อากาสานญฺจ : (นปุ.) อากาศไม่มีที่สุด.อากาสา-นนฺต+ณฺยปัจ.ภาวตัท.ลบอที่ตเหลือเป็นตฺลบณฺรวมเป็นตฺยแปลงตฺยเป็นจแปลงนฺเป็นนิคคหิตแปลง นิคคหิตเป็นญฺรูปฯ ๔๑, ๓๗๑.
  37. อาจริยุปชฺฌายวตฺตาทิ : (วิ.) มีวัตรอันอันเตวาสิกพึงทำแก่อาจารย์และวัตรอันสัทธิวิหาริกพึงทำแก่พระอุปชฌายะเป็นต้น มี วิ. ตามลำดับดังนี้.จ. ตัป อาจริยสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอาจริยวตฺตํ.จ. ตัปอุปชฺฌายสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอุปชฺฌายวตฺตํ.อ. ทวัน. อาจริยวตฺตญฺจอุปชฺฌายวตฺตญฺจอาจริยุปชฺฌายวตฺตานิ.ฉ. ตุล. อาจริยุปปชฺฌายวตฺตานิอาทีนิเยสํตานิอาจริยุปชฺฌายวตฺตาทีนิ (วตฺตานิ).
  38. อาณตฺติก : (วิ.) เกี่ยวด้วยการบังคับ, ประกอบด้วยการบังคับ, ฯลฯ.ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  39. อาตปฺป : (ปุ.) ความยังกิเลสให้เร่าร้อน, ความเพียร, ความพยายาม. วิ.อาภุโสกายํจิตฺตญฺจตาเปตีติอาตปฺโป.อาปุพฺโพ, ตปฺสนฺตาเป, โณ, ทฺวิตฺตํ
  40. อาตาป : (ปุ.) ความเพียรเป็นเครื่องยังกิเลสให้เร่าร้อน, ความร้อน, ความยังกิเลสให้ร้อน, ความเพียรเผากิเลส, ความขยัน, ความเข้มแข็ง, ความเพียร. วิ.อาสมนฺตโตตาเปตีติอาตาโป.
  41. อาทุ : อ. หรือ, หรือว่า, แต่, แน่นอน
  42. อาเทส : (ปุ.) การแปลง, การแผลง (สระพยัญชนะและ นิคคหิตตามกฏของบาลีไวยากรณ์), การเปลี่ยนแปลง.อาปุพฺโพ, ทิสฺหึสายํ, อ.ส.อาเทศ.
  43. อาภุชี : (อิต.) ไม้เสม็ด, ไม้แสม, ไม้ราชดัด.อาภุชิตตจวนฺตตายอาภุชี.
  44. อามณฺฑ : (ปุ.) ไม้ละหุ่ง, เทพทาโรชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง เปลือกหอมใช้ทำยา, แฟงชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งมีผลกลมยาวแต่ผลเล็กกว่าฟักวิ.อามํวาตํทายตีติอามณฺโฑ.อามปุพฺ-โพ, ทา อวขณฺฑเน, อ, ทสฺส โฑ.ลงนิคคหิตอาคมแล้วแปลงเป็นณฺอถวา, อาปุพฺโฑ, มณฺฑฺภูสเน, อ. อีสํปสนฺนเตล-ตายอามฌฺโฑ.ส.อามณฺฑ.
  45. อายุ : (ปุ. นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องเจริญแห่งสัมปยุตธรรม, ความเป็นไป, ชีวิต, ชิวิติน-ทรีย์, ชนมพรรษา, ชันษา, อายุ(เวลาที่ดำรงชีวิตอยู่เวลาชั่วชีวิตของสิ่งนั้นๆ).วิ.เอนฺติสตฺตาเอเตนาติอายุ.อิคติยํ, ณุ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยุมิสฺสนคตีสุ, อ. รูปฯ๖๓๕.ส. อายุษฺอายุสฺ.
  46. อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
  47. อารามิก : (วิ.) ผู้อยู่ในวัด, ผู้อาศัยวัดเป็นอยู่.ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  48. อาลมฺพ : (ปุ.) อารมณ์.วิ.จิตฺตเจตสิเกหิอาลมฺพียเตติอาลมฺโพ.ลมฺพนฺติเอตฺถรูปาทีสูติวาอาลมฺโพ.อาปุพฺโพ, ลพิอวสํสเน, อ.
  49. อาลมฺพณอาลมฺพน : (นปุ.) อารมณ์.วิ.จิตฺตเจตสิกาเอตฺถอาคนฺตฺวาลมฺพนฺตีติอาลมฺพณํอาลมฺพนํ วา, ยุปัจ. ส. อาลมฺพนการอาศรัยอยู่, การห้อยอยู่.
  50. อาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไป ทั่ว ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปใน ภพทั้ง๓๑ภพ, กิเลสเครื่องหมักดอง, กิเลส, อันตราย, อุปัททวะ, เหล้าอันบุคคลทำด้วย ดอกไม้, น้ำดอง, สุรา, เมรัย. ในที่ต่าง ๆ แปลว่า เมรัย เท่านั้น แต่ อภิฯ แปลว่า สุรา ด้วย. อาปุพฺโพ, สุ ปสเว, โณ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | [1701-1750] | 1751-1788

(0.0872 sec)