Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 1151-1200
  1. พุฑฺฒ : (วิ.) แก่, เฒ่า (ผู้สูงอายุ) วฑฺฒฺ วฑฺฒฺเน, อ. อภิฯ ลง ต ปัจ. แปลงเป็น ฒ แปลงที่สุดธาตุ เป็น ฑ ลบ ฑฺ สังโยค แปลง ว เป็น พ อ เป็น อุ.
  2. พุทฺธ : (วิ.) ผู้รู้, ผู้ตรัสรู้. พุธฺ โพธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  3. ภจฺจ : (ปุ.) สัตว์อันบุคคลพึงเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, บ่าวไพร่, ข้าใช้, คนรับใช้, คนใช้, อำมาตย์. วิ. ภรียตีติ ภจฺโจ. ภรฺ ธารณโปสเนสุ, ริจฺจปจฺจโย. ลบ รฺ, รฺ และ อิ. ภริตพฺโพติ วา ภจฺโจ. รูปฯ ๕๔๒. โมคฯ ลง ย ปัจ. แปลงเป็น จฺจ ลบ รฺ อีกอย่างหนึ่งว่ามาจาก ภต ศัพท์ แปลง ต เป็น จ ซ้อน จฺ ว่านน้ำ ก็แปล.
  4. ภาสิต : (นปุ.) คำอัน...พึงกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, คำกล่าว, คำที่กล่าว, ภาสิต ภาษิต คือคำกล่าวที่มีคติความฟัง คำกล่าวที่เป็นประโยชน์. ภาสฺ+ต ปัจ. อาคม.
  5. มกฺขิกา : (อิต.) แมลงวัน วิ. อสูจิอาทีหิ มกฺขตีติ มกฺขิ-ตา. มกฺขิ สํฆาเฏ, ณฺวุ, อิตฺถิยํ อา.
  6. มฏฺฐ : (วิ.) เกลี้ยง, เลี่ยน, เตียน, ราบ, สะอาด, บริสุทธิ์, มชฺ สุทฺธิยํ, โต.แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบ ชฺ.
  7. มหยฺยก : (ปุ.) ตา (พ่อของแม่).
  8. มหากนฺต มหากนฺท : (ปุ.) กระเทียม. ปลณฺฑกนฺทโต มหนฺตกนฺทตาย มหากนฺโท. ศัพท์ต้น แปลง ท เป็น ต.
  9. มาตามห : (ปุ.) ตา (พ่อของแม่) วิ. มาตุ ปิตา มาตามโห. อามห ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฺฑ์ ๓๘.
  10. มิทฺธ : (นปุ.) ความท้อแท้, ความเฉื่อยชา, ความเชื่อมซึม, ความหาวนอน, ความง่วง, ความง่วงงุน, ความว่วงโงก. สภาวะคร้านกาย ชื่อว่า มิทธะ. มิทฺ การิยกฺขมเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ. มิหฺ สติวิหนเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ หรือ มิหฺ อสามตฺถิเย.
  11. มุทฺธ : (วิ.) เขลา, โง่, หลง. มุหฺ เวจิตฺเต, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ.
  12. ยิฏฺฐ : (นปุ.) การบูชา, ฯลฯ. ยชฺ เทวปูชายํ, โต แปลง ต เป็น ฏฺฐ แปลง อ ที่ ย เป็น อิ ลบที่สุดธาตุ.
  13. ยุทฺธ : (นปุ.) การต่อสู้กัน, การรบ, การรบพุ่ง, สงคราม. ยุธฺ สมปหาเร, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  14. รชต : (นปุ.) เงิน วิ. รญฺชนฺติ ชนา เอตฺถาติ รชตํ. รญฺชฺ ราเค, อโต. แปลง ต เป็น ฏ เป็น รชฏ บ้าง.
  15. สพฺพฺญฺญุตญาณ สพฺพญฺญุตฺตญาณ : (นปุ.) ความรู้แห่งความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความรู้แห่งความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ญาณแห่งความเป็นพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้. ว. สพฺพฺญฺญุตาย สพฺพฺญฺญุตฺตสฺส วา ญาณํ สพฺพฺญฺญุตญาณํ สพฺพ ฺญฺญุตต-ฺญฺาณํ วา. ศัพท์ต้น รัสสะ อา ที่ ตา เป็น อ. ญาณคือความเป็นแห่งพระสัพพัญญู วิ.สพฺพ ฺญฺญุตา เอว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺญุต ฺญฺาณํ. อถวา, สพฺพ ฺญฺญุตฺตํ เยว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺ-ญุตฺต ฺญฺาณํ.
  16. สมฺมทตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์โดยชอบ, เนื้อความโดยชอบ, อรรถโดยชอบ. วิ. สมฺมา อตฺโถ สมฺมทตฺโถ. รัสสะ อา เป็น อ ทฺ อาคม. ต. ตัป.
  17. สมฺมปฺปญฺญา : (อิต.) ปัญญาชอบ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม. ปัญญาโดยชอบ. เป็น ต. ตัป.
  18. สมฺมปฺปธาน : (นปุ.) ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้แล้วโดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลพึงตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรที่ตั้งไว้ชอบ. ต. ตัป. ความเพียรชอบ. วิเสสนบุพ. กัม. สมฺมา+ปธาน รัสสะ อา เป็น อ.
  19. สมฺมาสงฺกปฺป : (ปุ.) ความดำริโดยชอบ. ต. ตัป. ความดำริชอบ. วิเสสนบุพ. กัม.
  20. สยกต : (วิ.) อันตนเองกระทำแล้ว, กระทำแล้วด้วยตนเอง. วิ. สยํ กตํ สยํกตํ. ต. ตัป.
  21. สฺวาคต : (นปุ.) การมาดี. ต ปัจ. ลงในภาวะ.
  22. สสฺสต : (วิ.) เที่ยง, เที่ยงแท้, แน่นอน, มั่นคง, ยั่งยืน, คงที่, เป็นไปติดต่อ, เป็นอยู่ติดต่อ, เป็นไปทุกเมื่อ, เป็นไปเป็นนิตย์. สสฺสฺ สาตจฺเจ. อปัจ. ประจำหมวดธาตุ ต ปัจ. หรือตั้ง สทา+สรฺ ธาตุในความเป็นไป ต ปัจ. แปลง สทา เป็น ส ลบที่สุดธาตุซ้อน สฺ.
  23. สากจฺฉา : (อิต.) การเจรจา, การเจรจากัน, การเจรจากับ, การกล่าวกับ, การสนทนา, การสนทนากัน, การสังสนทนา. วิ. สห สมฺมา วา อวิโรเธน กถา สากจฺฉา(สนทนาโดยชอบโดยไม่ขัดคอกันเลย. สห+กถา+ต ปัจ.แปลง สห เป็น สา ถ เป็น จ ต เป็น ฉ อาอิต. สํปุพฺโพ วา, กถฺ วจเน, โ ณฺย, สํสทฺทสฺส สา, ถฺยสฺส จฺโฉ, อิตฺถิยํ อา.
  24. สิงฺคเวร สิงฺคิเวร : (นปุ.) ขิง, ขิงสด. วิ. สิงฺค มิว เวรํ วปุ ยสฺส ต เมว สิงฺคิเวรํ.
  25. สิทฺธ : (วิ.) เสร็จ, สำเร็จ, สัมฤทธิ์, ให้ผลเป็นนิตย์, สิทฺธ สํสิทฺธิยํ, อ. สิธฺ สํสิทฺธิยํ วา, โต. แปลง ต เป็น ธ แปลงที่สุดธาตุเป็น ทฺ รูปฯ ๕๙๘.
  26. สุกฺข : (วิ.) แห้ง, เหี่ยว, แล้ง, สุสฺ โสสเน, โต. แปลง ต เป็น กฺข ลบที่สุดธาตุ รูปฯ ๖๐๑.
  27. สุกร : (วิ.) อัน...ทำได้โดยง่าย, อัน...ทำได้ง่าย. วิ. สุเขน กริยตีติ สุกรํ. ข ปัจ. ลบ ข ใช้เป็นกิริยาคุมพากย์เหมือนบทที่ประกอบด้วยอนีย์ ตพฺพ หรือ ต ปัจ. ได้. ผู้มีมืองาม. วิ. สุนฺทโร กโร ยสฺส โส สุกโร.
  28. หรึตกี : (อิต.) สมอ, สมอไทย. วิ. โรคภยํ หรตีติ หรีตกี. หรฺ อปนยเน, อโต. แปลง อ ที่ ร เ ป็น อี ก สกัด อี อิต. แปลง ต เ ป็น ฎ เป็น หรีฎกี ก็มี แปลง อ เป็น อิ และซ้อน ตฺ เป็น หริตฺตกี ก็มี.
  29. หสิต : (นปุ.) การหัวเราะ, ฯลฯ, วิ. หสนํ หสิตํ. ต ปัจ. อิ อาคม. ส. หสิต.
  30. อกต : (วิ.) อันปัจจัยอะไร ๆ ทำไม่ได้แล้วแล้ว. แปลง ต เป็น ฏ เป็น อกฏ บ้าง.
  31. อฏฺฐิต : ค. ๑. ไม่ตั้งมั่น ( น+ฐา+ต ) ; ๒. เข้าถึง, ตั้งใจ ( อา+ฐา+ต )
  32. อฑฺฒอทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค.เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ.ถ้าหมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติเขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ.อสุเขปเน, โต.แปลง ต เป็น ฑฺฒลบที่สุดธาตุคำหลังดูอทฺธข้างหน้า.ส. อรฺทฺธอรฺธ.
  33. อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
  34. อณฺณ : (ปุ. นปุ.) น้ำ, แม่น้ำ, ต้นสัก, ตัวหนังสือ. อณฺ สทฺเท, อ, ทฺวิตฺตํ (แปลง ณเป็นณฺณ).อรฺ คมเน วา, โต, อนฺนาเทโส (แปลง ต เป็น อนฺน), อนฺนสฺส อณฺณา เทโส (แปลง อนฺน เป็น อณฺณ), รฺโลโป(ลบ รฺ) หรือ แปลง ต เป็น ณฺณ.
  35. อตฺตชอตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน.วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา.อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺรลบ ตฺ สังโยค. รูปฯลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  36. อตฺตช อตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน. วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา. อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺร ลบ ตฺ สังโยค. รูปฯ ลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  37. อตฺถิภาว : (ปุ.) ความมี, ความเป็น ความเป็นของมี, ความเป็นของเป็น. อตฺถิ+ ตา ปัจ. ศัพท์หลัง วิ. อตฺถิโก ภาโว อตฺถิภา โว. อตฺถิ ลง ก สกัด ลบ ก.
  38. อทฺธา : (ปุ.) ทาง, ทางยืดยาว, ทางไกล, กาล, ทางยืดยาว.มีที่ใช้แต่ เอก. ป. อทฺธา ทุ.อทฺธนา ต. อทฺธุนา จ ฉ.อทฺธุโน ส.อทฺธาเนบาลีไวยากรณ์วจีวิภาค รูปฯ ๒๘๔เป็นอทฺธเน.ส.อธฺวน.
  39. อาสตฺต : (วิ.) ตั้งหน้า, เอาใจใส่, มีเพียร, มีสิ่ง นั้น ๆ เป็นใหญ่. อาปุพฺโพ, สญฺชฺ สงฺเค, โต. แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ญฺช.
  40. อิญฺชิต : (นปุ.) ความไหว, ฯลฯ. ต ปัจ. อิ อาคม.
  41. อิฏฺฐ : (วิ.) พอใจ, พึงใจ, น่าพึงใจ, ชอบใจ, ใคร่, สวย, งาม. ปรารถนา, ต้องการ, อิสุ อิจฺฉายํ, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบ สุ. ส. อิษฺฎ.
  42. อุกฺกณฺฐิต : (วิ.) ผู้เป็นไปกับด้วยคอในเบื้องบน. อุปริ+กณฺฐ+อิต (อิ ธาตุ ต ปัจ.) กฺ สังโยค. ดูกิริยากิตก์ด้วย. อุกฺกนฺติ
  43. อุปฆาต : (ปุ.) การเข้าไปกระทบ, การเข้าไป ทำร้าย, การเข้าไปเบียดเบียน, การเข้าไป ฆ่า, วิ. อุปหนตีติ อุปฆาโต. อุปปุพฺโพ, หนฺ หีสายํ, โณ, หนสฺส ฆาโต. แปลง ต เป็น ฏ เป็น อุปฆาฏ บ้าง.
  44. อุปนิกฺขิต อุปนิกฺขิตฺต : (ปุ.) คนสอดแนม, จารบุรุษ. อุป+นิ+ขิปฺ+ต ปัจ.
  45. อุปฺปาต อุปฺปาท : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดขึ้น, อาเพศแห่งดินฟ้าอากาศ แสดงผลดีผลชั่ว, ลางชี้ผลดีและผลชั่ว, อุบาต อุบาท (เหตุ การณ์ที่เกิดขึ้นผิดปกติ). วิ. สุภาสุภผลํ ปกาเสนฺโต อุปฺปตฺตีติ อุปฺปาโต, ปตฺ คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค. การเกิดขึ้น, การบังเกิดขึ้น, เหตุ. วิ. อุปฺปตฺติ อุปฺปาโต. ศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ท. ส. อุตฺปาต อุตฺปาท.
  46. อุมาต อุมฺมาต : (ปุ.) คนบ้า. อุปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, โณ. แปลง ท เป็น ต.
  47. อุสฺส อุสฺสนฺน : (วิ.) หนา, หนาขึ้น, มาก, สูง, สูงขึ้น. อุปุพฺโพ, สทฺ วิสรเณ, อ, สฺสํโย โค, ทฺโลโป. ศัพท์หลังลง ต ปัจ. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ท.
  48. เอกูนตึส : (อิต.) สามสิบหย่อนด้วยหนึ่ง, สาม สิบหย่อนหนึ่ง, ยี่สิบเก้า. วิ. เอเกน อูนา ตึส เอกูนตึส. ต. ตัป.
  49. เอตฺตก : (วิ.) มีประมาณเท่านี้ วิ. เอตํ ปริมาณํ อสฺสาติ เอตฺตกํ. เอต ศัพท์ซึ่งแปลงมาจาก อิม ศัพท์ ตฺตก ปัจ. ลบ ต ที่สุดทรัพย์.
  50. เอตฺตาวตก : (วิ.) มีประมาณเท่านี้, มีประมาณ เท่านั้น. วิ. เอตํ ปริมาณ มสฺสาติ เอตฺ ตาวตโก. เอต+อาวตก ปัจ. ซ้อน ต. คำ แปลแรกเป็น เอต ที่แปลงมาจาก อิม คำ แปลหลังเป็น เอต ที่แปลว่า นั่น, นั้น.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | [1151-1200] | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0905 sec)