Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 1751-1788
  1. อิตฺถ : (อัพ. นิบาต) อย่างนี้, ประการนี้, ประการะนี้. ด้วยประการฉะนี้, ดังนี้, นี่แหละ, อิม ศัพท์ ถํ ปัจ. อัพ๎ยตัท. แปลง อิม เป็น อิ แปลง ถํ เป็น ตฺถํ หรือ ซ้อน ตฺ ก็ได้ กัจฯ ๓๙๙ รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ได้ตั้งแต่ ปฐมาวิภัติ ถึง สัตมีวิภัติ.
  2. อิตฺถี : (อิต.) นาง (คำใช้แทนหญิง), ภรรยา, ภริยา. อุ. ภตฺตา ปญฺญาณมิตฺถิยา. ภัสดา เป็นเครื่องปรากฏแห่งภรรยา.
  3. อิติวุตฺตก : (นปุ.) อิติวุตตกะ ชื่อองค์ที่ ๖ ใน ๙ องค์ ของนวังคสัตถุศาสน์. แต่งโดยยกข้อ ธรรมขึ้นแล้ว อธิบายตอนจบมีบทสรุป กำกับไว้ด้วย. วิ. อิติ วุตฺตํ อิติวุตฺตกํ ก สกัด.
  4. อินฺทิย อินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่, ร่าง กาย, ร่างกายและจิตใจ, กำลัง, กำลังกาย, อำนาจ, ความรู้สึก, สติปัญญา, ประสาท, หน้าที่, อินทรีย์ (ความเป็นใหญ่ในกิจ นั้น ๆ). วิ. อินฺโท อตฺตา, ตสฺส ลิงฺคํ อินฺทิยํ อินฺทริยํ วา. อิย ปัจ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ วา อินฺทิริยํ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อิโย. ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ทฺร. ส. อินฺทริย.
  5. อิรุ : (อิต.) อิรุ ชื่อไตรเพท ๑ ใน ๓ ของ พราหมณ์ วิ. อิจฺจนฺเต เทวา เอตายาติ อิรุ. อิจฺ ถุติยํ, อุ, จสฺส โร. อิวฺ วา ถุติยํ, วสฺส โร.
  6. อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
  7. อุจฺฉุ : (ปุ.) อ้อย วิ. อุสติ สนฺตาปนนฺติ อุจฺฉุ. อุสฺ ทาเห, อุ, สสฺส จฺโฉ. อิสุ อิจฺฉายํ วา, อุ, อุสฺสุ, สสฺส โฉ, อสรูปทฺวิตฺตํ. ส. อักฺษว.
  8. อุตฺตมค อุตฺตมงฺค : (นปุ.) อวัยวะสูงสุด, หัว, ศรีษะ. วิ. องฺเคสุ อุตฺตมํคตฺตา อุตฺตมํคํ. อุตฺตมํ จ ตํ อํคํ จาติ วา อุตฺตมํคํ วา. ส. อุตฺตมางฺค.
  9. อุตฺตรกุรุ : (ปุ.) อุตตรกุรุ ชื่อทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. ธมฺมตา สิทฺธสฺส ปญฺจสีลสฺส อานุภาเวน กํ สุขํ อูรุ มหนฺต เมตฺถาติ กุรุ. กุ  ปาป รุนฺธนฺติ เอตฺถาติ วา กุรุ. กวิ. อุตฺตโร อุตฺตโม กุรุ อุตฺตรกุรุ.
  10. อุตฺติ : (อิต.) ถ้อยคำ. วิ. วุจฺจเตติ อุตฺติ. วจฺ ธาตุ ติ ปัจ. แปลง ว เป็น อุ จฺ เป็น ตฺ รูปฯ ๖๑๓.
  11. อุทเกส : (วิ.) มีผมอันชุ่มแล้วด้วยน้ำ. วิ. อุทเกน ตินฺตเกโส อุทเกโส. อถวา, อุทก ตินฺตาเกสา ยสฺส โส อุทเกโส. ลบ ก ที่ อุทก.
  12. อุทฺธฏ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน. วิ. อุทฺธํ อฏติ จิตฺต เมเตนาติ อุทฺธฏํ. อุทฺธํปุพฺโพ, อฏฺ คมเน, อ.
  13. อุทฺธุมายิก : ค. ดู อุทฺธุมาต
  14. อุปชฺฌายาทิวตฺต : (นปุ.) วัตรอัน...พึงประพฤติ โดยชอบในอุปการชน มีพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น. มี วิ. ตามลำดับดังนี้.- ฉ. ตุล. อุปชฺฌาโย อาทิ เยสํ เต อุปชฺฌา- ยาทโย (อุปการชนา) วิเสสนปุพ. กัม. อุปชฺฌาทโย อุปการชนา อุปชฺฌายาทิอุปการชนา. ส. ตัป. อุปชฺฌายาทิอุปการชเนสุ สมฺมา- จริตพฺพํ วตฺตํ อุปชฺฌายาทิวตฺตํ. วัตรมีวัตรเพื่อพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น มี วิ. ดังนี้.- จ. ตัป. อุปชฺฌายสฺส วตฺตํ อุปชฺฌายวตฺตํ. ฉ. ตุล. อุปชฺฌายวตฺตํ อาทิ เยสํ ตานิ อุปชฺฌายาทีนิ (วตฺตานิ). วิเสสนบุพ. กัม. อุปชฺฌายาทีนิ วตฺตานิ อุปชฺฌายาทิวตฺตานิ.
  15. อุปมา : (อิต.) การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ, อุปมา (เป็นไปใกล้ของความวัด). วิ. ยา อจฺจนฺ- ตาย น มิโนติ น วิจฺฉินฺทติ สา มาณาย สมีเป วตฺตตีติ อุปมา. อุปมียติ สทิสีกรียติ เอตายาติ วา อุปมา. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, กวิ, อ วา. ส. อุปมา.
  16. อุปริ : (อัพ. นิบาต) บน, ข้างบน, เบื้องบน, ด้าน, ด้านเหนือ, ล่วงไป, ในเบื้องบน, ณ เบื้องบน, ในเบื้องหน้า, ณ เบื้องหน้า. สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต. เว้น อุ. อุปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ฝนเว้นซึ่งภูเขาย่อมตก. รูปฯ ๒๙๘. ส. อุปริ.
  17. อุปริม : (วิ.) มีในเบื้องบน, เกิดในเบื้องบน. วิ. อุปริ ภโว ชาโต วา อุปริโม. อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  18. อุปาทายรูป : (นปุ.) รูปอันอาศัยมหาภูตรูป เป็นไป. วิ. มหาภูตานิ อุปาทาย ปวตฺตํ รูปํ อุปาทายรูปํ. รูปอันเป็นอาการของ มหาภูตรูป. ลบ ย เป็น อุปาทารูป บ้าง.
  19. อุเปกฺขา : (อิต.) ความเพ่ง, ความเล็ง, ความหวัง, ความวางเฉย, ความวางใจเป็นกลาง, ความมีใจเฉยอยู่, ความเที่ยงธรรม (มีใจ มั่นอยู่ในกัมมัสสกตาญาณ.) วิ. ทฺวินฺนํ เวทนานํ สมีเป ปวตฺตา อิกฺขา อนุภวนฺนตีติ อุเปกฺขา. อุปตฺติโต อกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุเปกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุปปุพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนงฺเกสุ, อ. เป็น อุเปขา โดยลบ กฺ ก็มี. ส. อุเปกฺษา.
  20. อุโปสถ : (ปุ.) อุโปสถะ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๙ ใน ๑๐ ตระกูล ช้างตระกูลนี้มีสีเป็นสี ทองคำ วิ. อุโปสถกุเล ชาตตฺตา อุโบสโถ. ณ ปัจ. ฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
  21. อุโปสถิก : (วิ.) ผู้สมาทานอุโบสถ, ผู้สมาทาน อุโบสถศีล, ผู้รักษาอุโบสถศีล, ผู้รักษาศีล ๘. วิ. อุโปสถํ สมาทิยตีติ อุโปสถิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. อุโปสโถ อสฺส อตฺถีติ อุโปสถิโก. อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  22. อุพฺพี : (อิต.) แผ่นดิน. วิ. อวติ ภูตานีติ อุพฺพี. อวฺ ปาลเน, อ, อสฺสุ, อิตถิยํ อี. วิถิณฺณตฺตาวา อุพฺพี.
  23. อุยฺยาน : (นปุ.) สวนเป็นที่แลดูในเบื้องบนไป, สวนเป็นที่แหงนดูเดินไปพลาง, สวนเป็น ที่รื่นรมย์, สวน, สะตาหมัน (สวน), ป่า, ป่าของพระราชา (ใช้ได้ทั่วไป), อุทยาน, พระราชอุทยาน, สวนหลวง. วิ. สมฺปนฺน- ทสฺสนียปุปฺผผลาทิตาย อุลฺโลเกนฺตา ยนฺติ ชนา เอตสฺมินฺติ อุยฺยานํ. ส. อุทฺยาน.
  24. อุสฺสารณ : (ปุ.) ตำรวจหวาย. อุปุพฺโพ, สรฺ คติหึสาจินฺตาสุ, ยุ.
  25. อุฬารตฺต : นป. ดู อุฬารตา
  26. เอกกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) คราวเดียว, คราว หนึ่ง, ครั้งเดียว, ครั้งหนึ่ง, หนหนึ่ง. สัมพันธ์เป็นกิริยาวิเสสนะ, สิ้นคราวเดียว, ฯลฯ. กฺขตฺตํปัจ. ลงในวารอรรถรูปฯ ๔๐๓. สัมพันธ์เป็น อัจจันตสังโยค.
  27. เอกกฺขี : ค. ผู้มีตาข้างเดียว
  28. เอกนิมฺมิลนมตฺต : (วิ.) ชั่วกระพริบตา.
  29. เอกาสนิก : (วิ.) ผู้มีการบริโภคบนอาสนะ เดียวเป็นปกติ. วิ. เอกาสเน โภชนํ สีลํ อสฺสาติ เอกาสนิโก. ผู้มีปกติบริโภคอาหารบน อาสนะเดียว ผู้บริโภคอาหารบนอาสนะเดียว เป็นวัตร วิ. เอกาสเน โภชน สีโล เอกาสโน. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  30. เอราวณ : (ปุ.) เอราวัณ ไอราวัณ ชื่อช้าง ประจำทิศบูรพา ชื่อช้างสามเศียรซึ่งเป็น ราชพาหนะของพระอินทร์ วิ. อิราวเณ ชาโต เอราวโณ (เกิดในสมุทรชื่อ อิราวัณ). ณ ปัจราคาทิตัท. ส. ไอราวณ. ไอราวต.
  31. เอหิปสฺสิก : (วิ.) ควรซึ่งวิธีว่า อ. ท่านจงมาดู, ควรซึ่งวิธีว่าท่านจงมาดู, ควรเรียกให้มาดู. วิ. เอหิ ปสฺสาติ อิมํ วิธึ อรหตีติ เอหิปสฺ สิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. รูปฯ ๓๖๐. โมคฯ ขาทิกัณฑ์ วิ. เอหิปสฺสวิธึ อรหตีติ เอหิปสฺสิโก.
  32. โอกฺขิตฺตจกฺขุ : (วิ.) มีตาทอดลงแล้ว, มีตา ทอดลง.
  33. โอคุห : ป. เต่า
  34. โอทนฺต : (วิ.) มีโอเป็นที่สุด วิ. โอ อนฺโต เยสํ เต โอทนฺตา (อกฺขรา). โอ+อนฺต ทฺ อาคม.
  35. โอปนยิก : (วิ.) เป็นธรรมอันบุคคลควรเพื่ออันน้อมเข้ามา, เป็นธรรมอันบุคคลควรน้อมเข้ามา. วิ. อุปเนตุ  ภพฺโพติ โอ ปนยิโก. เป็นธรรมอันบุคคลควรเพื่ออัน น้อมเข้ามาในตน, เป็นธรรมอันบุคคลควร น้อมเข้ามาในตน. วิ. อนฺตนิ อุปเนตุ ภพฺโพติ โอปนยิโก. ควรนำเข้ามา วิ. อุปนยํ อรหตีติ โอปนยิโก. ควรเพื่ออัน นำเข้ามา วิ. อุปเนตุ อรหตีติ โอปนยิโก. ควรนำเข้ามาในจิตของตน ด้วยสามารถ แห่งภาวนา วิ. ภาวนาวเสน อตฺตโน จิตฺเต อุปนยํ อรหตีติ โอปนยิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  36. โอปปาติก : (วิ.) ผูดเกิดขึ้นดุจลอยมาเกิด, ผู้ลอยมาเกิด. วิ. อณฺฑชลาพุสํเสเทหิวินา อุปติตฺวา วิย นิพฺพตฺตาติ โอปปาติกา.
  37. โอปายิก : (วิ.) ประกอบด้วยอุบาย, ประกอบในอุบาย. วิ. อุปาเยน อุปาเย วา นิยุตฺโตติ โอปายิโก. ชอบด้วยอุบาย วิ. อุปาเยน อนุจฺฉวิโกติ โอปายิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  38. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | [1751-1788]

(0.0808 sec)